AGC400-th


AGC400-th

1 Pages 1-10

▲back to top

1.1 Page 1

▲back to top
Agc 400
สมาชิกท่รี ัก
โรม 25 ธันวาคม 2007
สมโภชพระคริสตสมภพ
ในช่วงปลายปี 2007 ซงึ่ เราได้ทำกิจการต่างๆ เพ่อื ชีวิต โดยเลียน
แบบพระเจ้า “ผู้รักชีวิต” และเรากำลังย่างเข้าสู่ปี 2008 ท่เี ปิ ดอยู่หน้าเรา
ในฐานะเป็ น “ปี แห่งพระเจ้า” พ่อขอเขยี นถึงพวกท่านด้วยหัวใจของดอน
บอสโก
ต้งั แต่ได้เขียนจดหมายฉบับสุดท้ายท่พี ่อเสนอภาพรวมของภาคพ้ นื
อัฟริกา-มาดาคัสกาเป็ นต้นมา พ่อไปเย่ยี มแขวงต่างๆ ของสหรัฐอเมริกา
และรองแขวงคานาดาในช่วงเดือนกันยายน แล้วก็รองแขวงอัฟริกาใต้ใน
โอกาสครบรอบ 25 ปี ของการเร่มิ กิจการซาเลเซียนในประเทศไนจีเรีย หลัง
จากน้นั ก็ไปเย่ยี มแขวงต่างๆ ของซัมเบียและโมซัมบิกในเดือนตุลาคม
สุดท้ายก็ไปเย่ยี มแขวงตะวันออกกลาง ก่อนจะเดินทางไปอาร์เจนตินาใน
เดือน พฤศจิกายน

1.2 Page 2

▲back to top
นอกจากน้ี พ่ออยากพูดถึงเหตุการณ์ต่างๆ ท่นี ่าจดจำ อาทิ การส่ง
ธรรมทูตชุดล่าสุดตอนปลายเดือนกันยายน การแต่งต้งั มรณสักขีซาเลเซียน
แห่งสเปนในวันท่ี 28 ตุลาคม และการแต่งต้งั เซฟเฟริโน นามุงกุระ เป็ น
บุญราศีในวันท่ี 11 พฤศจิกายน
การแต่งต้งั บุญราศีสองคร้งั น้เี ป็ นการสรุปวาระหกปี ของพ่อท่เี ร่มิ ต้น
ด้วยการแต่งต้งั นักบุญแห่งความรักสามองค์ นนั่ คือ ภราดาอาร์เตมิเดส ซัต
ตี คุณพ่อหลุยส์ วารีอารา และซสิ เตอร์มารีอา โรเมโร รวมคำเช้ อื เชิญของ
พระสันตะปาปา ยอห์น ปอล ท่ี 2 ให้เราก้าวเข้าสู่สหัสวรรษท่สี ามด้วย
มาตรฐานสูงส่งแห่งชีวิตคริสตชน
นอกน้นั ในขณะท่มี รณสักขีนำเรากลับไปสู่จดหมายแห่งศีลมหาสนิท
เพราะไม่มีศีลมหาสนิทหากไม่มีการเป็ นมรณสักขีและไม่มีมรณสักขีหาก
ไม่มีศีลมหาสนิท เซฟเฟรีโนช้บี อกให้เห็นว่า เขามาถึงจุดน้ีได้ก็เพราะ
การกระทำของพระจิตเจ้าร่วมกับการอบรมซาเลเซียนท่ชี ่วยหล่อหลอมให้
ไม่ต้องสงสัยเลยว่าธรรมทูตท่คี ุณพ่อบอสโกส่งไปได้เรียนรู้และลอกเลียน
ประสบการณ์แห่งจิตตารมณ์และการอบรมจากวัลดอกโกเพ่อื นำนักบุญน้อย
ไปสู่วุฒิภาวะ พอ่ จึงเช่อื ว่า คงไม่มีแรงจูงใจดีไปกว่าน้สี ำหรับการเลือก
คำขวัญสำหรับปี ใหม่ท่พี ่ออยากมอบใหพ้ วกท่าน

1.3 Page 3

▲back to top
ดังท่ที ่านเห็นจากหัวข้อและเน้ อื หาท่พี อ่ ได้นำเสนอ ส่งิ ท่พี อ่ อยากเน้น
ไม่อยู่ในบุคคลเป้ าหมายแห่งการอบรมของเรา แต่ขอเน้นตัวผู้ให้การอบรม
ซงึ่ เป็ นเหมือนพระเยซูเจ้าท่พี ระจิตแห่งองค์พระผู้เป็ นเจ้าทรงเจิมและส่ง
ไปประกาศข่าวดี ปลดปล่อยคนให้เป็ นไท ทำให้คนตาบอดมองเห็นและ
ประกาศปี แห่งพระเมตตาให้แก่บุคคลเป้ าหมายแห่งการอบรมของเรา (เทีย
บ ลก 4,18-19) ดังน้นั คำขวัญปี 2008 มุ่งถึงคณะกรรมการอภิบาล หมู่
คณะผู้อบรม คณะท่ปี รึกษาด้านอภิบาล ฯลฯ แห่งครอบครัวซาเลเซียน
ถือว่าเป็ นการเช้ อื เชิญให้กระชับอัตลักษณ์แห่งการเป็ นนักอบรมของเราอีก
คร้งั หนึ่ง เป็ นการให้ความกระจ่างแก่โครงการอบรมซาเลเซียน เป็ นการ
ตรวจสอบวิธีการอบรมแบบถึงรากถึงโคน ให้ความชัดเจนแก่เป้ าหมายของ
การอบรม รวมท้งั ให้ความสำนึกในความล้มเหลวของการอบรมในสังคม
ด้วย
เราได้รับเรียกมาเพ่อื ภารกิจน้เี ป็ นการเฉพาะ พระวรสารโดยน.ลูกาท่ี
พ่อเลือกมาเป็ นบทนำของคำขวัญน้นั ให้คำจำกัดความกระแสเรียกของเรา
ในรูปแบบของคุณพ่อบอสโกได้อย่างชัดเจน จึงไม่ใช่เป็ นการบังเอิญท่ใี น
พระวินัยซาเลเซียนมีการเลือกพระวรสารตอนเดียวกันน้มี าใช้เป็ นบทนำ
เร่อื ง “การรับใช้ด้านอบรมอภิบาลของเรา”
ในตอนต้นแห่งชีวิตเปิ ดเผยของพระเยซเู จ้า พระองค์ทรงรับรวู้ ่าบท

1.4 Page 4

▲back to top
อ่านของประกาศกอิสยาห์ท่มี ีการนำมาอ่านในศาลาธรรมเป็ นภารกิจแห่ง
พระเมสสิยาห์และทรงประกาศต่อหน้าเพ่อื นร่วมเมืองของพระองค์ว่า “วัน
น้ี พระคัมภีร์ท่ที ่านได้ยินกลับเป็ นความจริงแล้ว” (ลก 4,21)
คำว่า “วันน้”ี ของพระเยซเู จ้ายังคงต่อเน่อื งในภารกิจการอบรมของ
เรา โดยทางศีลล้างบาป เราได้รับการเจิมจากพระจิตเจ้าและถูกส่งไปหา
เยาวชนเพ่อื ประกาศความใหม่แห่งชีวิตซึ่งพระคริสตเจ้าทรงเสนอให้เรา
เพ่อื ส่งเสริมชีวิตและพัฒนาชีวิตผ่านทางการอบรมซึ่งเป็ นการช่วยเยาวชน
และคนยากจนให้เป็ นไทจากการกดข่ที ุกชนิดและจากการตกขอบสังคมทุก
รูปแบบ สถานการณ์แห่งการตกขอบสังคมกีดกันเยาวชนและคนจนไม่ให้
มีโอกาสแสวงหาความจริง เปิ ดสู่ความหวัง ดำเนินชีวิตอย่างมีเป้ าหมาย
และเต็มด้วยความยินดี อีกท้งั สร้างอสิ รภาพของตนข้นึ มา
คำขวัญปี 2008 ต่อเน่อื งจากคำขวัญของปี ก่อนๆ ชีวิตเป็ นของขวัญ
ย่งิ ใหญ่จากพระเจ้า “ผู้รักชีวิต” และทรงมอบเมล็ดชีวิตให้เราเพ่อื เราจะได้
ร ่ว ม ม ือ ก ับ พ ร ะ อ ง ค ์ใ น ก า ร ท ำ ใ ห ้เ ม ล ็ด ช ีว ิต เ ต ิบ โ ต แ ล ะ ผ ล ิด อ ก อ อ ก ผ ล
มากมาย เมล็ดชีวิตน้ตี ้อง “ตกลงในเน้ อื ดินดี” ซึ่งจะเอ้ อื ให้มันงอกงาม
และออกดอกออกผล ดินดีน้คี ือครอบครัว ซึ่งเป็ นเปลแห่งชีวิตและความรัก
เป็ นสถานท่แี รกท่คี นเรียนรู้การเป็ นมนุษย์ ครอบครัวจึงต้อนรับของขวัญ
แห่งชีวิตด้วยความยินดีและรู้คุณ พร้อมกันน้นั ก็จัดให้มีบริบทธรรมชาติท่ี
เหมาะสมเพ่อื ช่วยให้ชีวิตเติบโตและพัฒนา กระน้นั ก็ดี เน้ อื ดินดียังไม่พอ

1.5 Page 5

▲back to top
ยงั ต้องมีความเพียรพยายามและความขยันขันแข็งของชาวนาในการรดน้ำ
ดูแลและช่วยให้มันเติบโตด้วย ชาวนาท่ชี ่วยให้ชีวิตเติบโตคือผู้อบรมนนั่ เอง
คุณพ่อบอสโกกล่าวเก่ยี วกับเร่อื งน้วี ่า “เน้ อื ดินแม้ท่แี ห้งแล้งและไร้ผลผลิต
สามารถกลับเป็ นเน้ อื ดินดีได้ด้วยความเพียรพยามของชาวนาฉันใด จิตใจ
มนุษย์ก็ฉันน้นั ตอนแรกๆ ดูว่าจิตใจจะแห้งแล้งและด้ อื ร้นั แต่ไม่เร็วก็ช้า
จะออกดอกออกผลงดงาม เร่มิ ต้นด้วยการรักส่งิ ท่ดี ีตามธรรมชาติ แล้วน้นั
ก็ความดีเหนือธรรมชาติ หากผู้นำจิตวิญญาณ (นักอบรม) ร่วมมือกับพระ
หรรษทานของพระเจ้าด้วยการภาวนาและออกแรงเพ่อื ให้เกิดผลท่ดี ีและ
งดงาม” (BM V, 236-7)
พ่อคิดว่าน่าจะพูดส่งิ ท่พี ่อได้เคยพูดในท่อี ่นื อีกคร้งั คำขวัญปี น้ไี ม่ใช่มี
ไว้เพ่อื เสนอหัวข้อใหม่ให้แตกต่างจากหัวข้อของปี ก่อนๆ พ่อมนั่ ใจว่า เรา
ไม่สามารถทำงานอภิบาลด้านการอบรมแบบขยักขย่อน เดี๋ยวหยุด เดี๋ยว
เร่มิ แต่ต้องเป็ นงานเหมือนงานเกษตรท่ตี ้องมีการวางแผนระยะยาว การ
เอาใจใส่ดูแล และก่อนอ่นื หมด ต้องมีการทุ่มเทและความรักเป็ นทุน น่คี ือ
วิธีการทำเกษตรกรรมท่ดี ีท่สี ุด น่คี ือวิธีการสร้างคนเพราะฉะน้นั หวั ข้อ
คำขวัญปี น้จี ึงเป็ นการต่อเน่อื งจากหัวข้อครอบครัวและชีวิต

1.6 Page 6

▲back to top
นคี่ ือคำขวัญปี 2008
ให้เราอบรมด้วยหัวใจของดอนบอสโก
เพ่อื พฒั นาชีวิตเยาวชนไปสู่ความเต็มเปี่ ยมแห่งศักยภาพ
โดยเฉพาะเยาวชนที่ยากจนและด้อยโอกาสกว่าหมด
ด้วยการส่งเสริมสิทธิของพวกเขาแต่ละคน
ในช่วงแรกคำอธิบายคำขวัญปี น้ซี ึ่งถือว่าเป็ นโครงการฝ่ ายจิตและ
โปรแกรมการอภิบาลประจำปี พอ่ ขอยกคำพูดของ P. Duvallet ซึ่งเป็ นผู้
ร่วมงานของ Abbe Pierre เป็ นเวลาย่สี ิบปี ในงานอภิบาลเยาวชนท่ตี ้องคดี
เป็ นคำท่ที ่านพูดกับซาเลเซียน “พวกท่านมีกิจการหลายอย่าง มีโรงเรียน
ศูนย์เยาวชนสำหรับเด็กๆ แต่พวกท่านมีขุมทรัพย์หนึ่งเดียวเท่าน้นั นนั่
คือระบบการอบรมของคุณพอ่ บอสโก ในสังคมท่เี ยาวชนโดนทรยศ โดน
กดข่ี โดนใช้เพ่อื แสวงหาผลประโยชน์น้ี องค์พระผู้เป็ นเจ้าทรงมอบหมาย
ระบบการอบรมท่เี น้นความเคารพต่อเด็กๆ เคารพความย่งิ ใหญ่ ความ
เปราะบางและศักดิศ์ รีของพวกเขาในฐานะท่เี ป็ นบุตรของพระเจ้า จงรักษา
ระบบการอบรมน้ไี ว้ให้ดี หมนั่ ฟ้ ื นฟู ทำให้ทันสมัยและมงั่ คงั่ ด้วยการค้นพบ
ใหม่ๆ อีกท้งั ปรับให้เข้ากับเยาวชนแห่งศตวรรษท่ยี ่สี ิบและโศกนาฏกรรมท่ี
พวกเขากำลังเผชิญอยู่ ซึ่งส่งิ เหล่าน้คี ุณพ่อบอสโกไม่มีโอกาสรับรู้ กระน้นั ก็
ดี จงรักษาระบบการอบรมน้ไี ว้ หากจำเป็ นก็จงเปล่ยี นทุกอย่าง ยอมสูญ
เสียทุกอย่าง สูญเสียบ้านท่มี ีอยู่ แต่จงรักษาขุมทรัพย์น้ไี ว้ด้วยการปลุก

1.7 Page 7

▲back to top
ระดมความรักในดวงใจเป็ นล้านๆดวงให้รักและช่วยเด็กให้รอด พวกเขา
เป็ นมรดกท่คี ุณพ่อบอสโกได้ท้งิ ไว้ให้พวกท่าน”1
พ่อคิดว่าคงยากท่จี ะหาคำขอร้องท่หี นักแน่นไปกว่าน้ี การสำนึกใน
ความย่งิ ใหญ่แหง่ กระแสเรียกแห่งการเป็ นนักอบรมและของขวัญท่เี ราได้รับ
จากวิธีการอบรมของคุณพ่อบอสโก ซึ่งเป็ น “วิธีการอบรมแห่งหัวใจ
” ทำใหเ้ ราอยากท่จี ะทุ่มเทชีวิตเพ่อื ทำให้คำพูดเชิงประกาศกน้ีได้เป็ นความ
จริงในปั จจุบัน
คำขวัญมุ่งประเด็นสนใจไปท่ี
- การอบรมซาเลเซียนและระบบการป้ องกันซึ่งเรานักอบรมต้องนำไป
ไตร่ตรองและรับอบรมเพ่มิ เติมเพ่อื จะได้ไม่สูญเสียความมงั่ คงั่ ของมัน
ไป
- การสนับสนุนอันทรงคุณค่าท่เี ราช่วยชีวิตและครอบครัวให้สามารถ
ตอบรับการท้าทายย่งิ ใหญ่ด้วยการอบรมของเรา
- การส่งเสริมสิทธิมนุษยชน โดยเฉพาะสทิ ธิของเด็กและเยาวชน ซึ่ง
ต้องเป็ นพันธะของการอบรมของเราเพ่อื สร้างวัฒนธรรมท่ดี ีงาม
1. อบรมด้วยหัวใจของดอนบอสโก

1.8 Page 8

▲back to top
อบรมด้วยหัวใจของดอนบอสโกหมายความว่าผู้อบรมนำวิธีการอบรม
ของคุณพ่อบอสโกมาบ่มใหัวใจแล้วปล่อยให้มันพรงั่ พรู “เหตุผล ศาสนา
และความรักใจดี” ออกมา โดยทำให้ความรักใจดีเป็ นกุญแจหลักและนำ
หลักศาสนาและเหตุผลไปประยุกต์ใช้อย่างเป็ นรูปธรรม หรือจะพูดอีกนัย
หนงึ่ เป็ นการดำเนินชีวิตระบบป้ องกัน ซงึ่ เป็ นความรักท่รี ู้จักทำตัวให้น่ารัก
(เทยี บ ว. 20) ด้วยการอยู่ท่ามกลางเยาวชนและมีความใกล้ชิดสนิทสนม
อย่างเป็ นกันเองและอย่างมีประสิทธิผล ด้วยการร่วมมีส่วน ติดตาม ให้จิต
วิญญาณ เป็ นประจักษ์พยาน ส่งเสริมกระแสเรยี กเยาวชน ในรูปแบบของ
การดูแลแบบซาเลเซียน ส่งิ ท่สี ำคัญกว่าหมดคือการต้องร้ อื ฟ้ ื นการเลือก
ทำงานเพ่อื เยาวชนยากจนและอยู่ในภาวะเส่ยี ง พร้อมท้งั เข้าถึงสถานการณ์
ท่ตี ัดรอนสิทธิของพวกเขาไม่ว่าในรูปแบบเปิ ดเผยหรือซ่อนเร้นทุกชนิด
อีกท้งั มีความมนั่ ใจในทรัพยากรด้านบวกท่ีมีอยู่ในตัวเยาวชนแต่ละคน แม้
ในบุคคลท่เี คยได้รับผลกระทบในชีวิตมาแล้ว แล้วน้นั ก็ทุ่มเทชีวิตของเรา
เพ่อื อบรมพวกเขา
“ความรักของคุณพ่อบอสโกต่อเยาวชนเหล่าน้เี ป็ นการกระทำท่ที ันต่อ
เหตุการณ์ คุณพ่อให้ความเอาใจใส่ต่อชีวิตท้งั ครบของพวกเขาด้วยการตอบ
สนองความต้องการของพวกเขาท้งั ท่เี ห็นได้ชัดและท่ยี ังคงแอบแฝงอยู่ การ
กล่าวว่าคุณพ่อบอสโกมอบหัวใจท้งั ครบให้แก่เยาวชนน้นั หมายถึงการท่คี ุณ
พ่อมอบทุกส่งิ ในตัวคุณพ่อให้แก่เยาวชน สติปั ญญา ดวงใจและน้ำใจ
กำลังวงั ชา หรือจะพูดอีกนัยหนึ่ง คุณพอ่ มอบความเป็ นอยู่ท้งั ส้นิ เพ่อื ความ
ดีของพวกเขา ส่งเสริมใหพ้ วกเขาพัฒนาเต็มศักยภาพและปรารถนาให้พวก

1.9 Page 9

▲back to top
เขาทุกคนเอาตัวรอดไปสวรรค์ ดังน้นั สำหรับคุณพ่อบอสโก การเป็ นคน
แห่งหัวใจหมายถึงการอุทิศตนท้งั ครบเพ่อื ความอยู่ดีกินดีของเด็กๆ และ
อทุ ิศตนเพ่อื พวกเขาอย่างเต็มกำลังจนกระทงั่ ลมหายใจสุดท้าย”2
เพ่อื จะเข้าใจคำพูดของคุณพ่อบอสโกท่วี ่า “การอบรมเป็ นเร่อื งของ
หัวใจซึ่งพระเจ้าผู้เดียวทรงเป็ นเจ้าของ” (BM XVI, 376)3 และสามารถ
เข้าถึงระบบป้ องกันได้อย่างถ่องแท้ พ่อว่าเราต้องฟั งความเห็นของผู้
เช่ยี วชาญเก่ยี วกับนักอบรมศักดิส์ ิทธิผ์ ู้น้ี “วิธีการอบรมของคุณพ่อบอสโก
เป็ นอันหนึ่งอันเดียวกับทุกส่งิ ท่คี ุณพ่อทำด้วยบุคลิกภาพของคุณพ่อ ซึ่งโดย
ภาพรวมของคุณพ่อบอสโกแล้ว ทุกส่งิ อยู่ท่หี ัวในนั่ เอง”4 และน่คี ือความ
ย่งิ ใหญ่และเคล็ดลับแห่งความสำเร็จของคุณพอ่ ในฐานะนักอบรม คุณพ่อ
บอสโกรู้จักสร้างความสมดุลระหว่างอำนาจและความใจดี ระหว่างความรัก
ต่อพระเจ้าและความรักต่อเยาวชนได้อย่างลงตัว
1.1. กระแสเรยี กและเส้นทางสู่ความศักดิส์ ิทธิ์
การท่กี ารอบรมซาเลเซียนสามารถเช่อื มโยงและสืบทอดมาได้หลายปี
พร้อมท้งั สอดแทรกเข้าสู่วัฒนธรรมในบริบทท่หี ลากหลายและสามารถตอบ
สนองความต้องการและความคาดหมายใหม่ๆของเยาวชนได้ตลอดน้นั ก็
เป็ นเพราะความศักดิส์ ิทธิข์ องคุณพ่อบอสโกนนั่ เอง

1.10 Page 10

▲back to top
ความผสมผสานกลมกลืนระหว่างพรสวรรค์กับสถานการณ์ทำให้คุณ
พ่อบอสโกกลายเป็ น “บิดา อาจารย์และเพ่อื นของเยาวชน” ดังท่พี ระ
สันตะปาปา ยอห์น ปอล ท่ี 2 ได้ตรัสถึงท่านในปี 1988 ความสามารถโดย
ธรรมชาติของคุณพ่อบอสโกท่จี ะเข้าหาเยาวชนและทำตัวใหพ้ วกเขาไว้
วางใจ อีกท้งั ศาสนบริการในฐานะสงฆ์ทำให้คุณพอ่ สามารถเข้าถึงหัวใจ
มนุษย์ได้อย่างลึกซ้งึ และเข้าถึงผลงานของพระหรรษทานในการพัฒนาของ
เด็กๆ รวมท้งั ไหวพรบิ ในการประยุกต์ความคิดอ่านลงสู่ภาคปฏิบัติในรูป
แบบซ่อื ๆ และการคลุกคลีกับเยาวชนเป็ นเวลานานๆ...เหล่าน้เี อ้ อื ให้ท่าน
สามารถพัฒนาแรงบันดาลใจแรกเร่มิ ให้ไปถึงความเต็มเปี่ ยมได้อย่างงดงาม
ทว่า รากแก้วของทุกส่งิ เหล่าน้คี ือกระแสเรียก คุณพ่อบอสโกถือว่า
การรับใช้เยาวชนคือการตอบรับการเรียกขององค์พระผู้เป็ นเจ้าด้วยใจกว้าง
เป็ นการผสมผสานระหว่างความศักดิส์ ิทธิแ์ ละการอบรม เป็ นชีวิตแห่งการ
เสียสละ เป็ นการแสดงออกของความรัก ซงึ่ รวมกันเป็ นบุคลิกของตัวท่าน
คุณพ่อจึงเป็ นนักอบรมศักดิส์ ิทธิแ์ ละเป็ นนักบุญนักอบรม
คุณพ่อบอสโกทำให้การผสมผสานดังกล่าวหลอมกันเป็ น “ระบบ” ซึ่ง
เป็ นกระบวนการความคิดและการนำสู่ภาคปฏิบัติท่สี ามารถเขียนเป็ น
หนงั สือ เล่าเป็ นภาพยนตร์ บรรยายเป็ นบทกวีหรือบทเพลงได้อย่างลงตัว
ส่งิ น้เี องดึงดูดใจผู้ร่วมงานท่เี ต็มไปด้วยความกระตือรือร้นและสร้างความ
ฝั นให้แก่เยาวชน

2 Pages 11-20

▲back to top

2.1 Page 11

▲back to top
ศิษย์ของคุณพ่อบอสโกซึ่งต่างก็มีกระแสเรียกให้เป็ นนักอบรมได้นำ
ระบบการอบรมน้เี ข้าสู่วัฒนธรรมหลากหลายและทำให้เป็ นโครงการอบรมท่ี
แตกต่างกันตามแต่สถานการณ์ของเยาวชน บุคคลเป้ าหมายแห่งภารกิจ
ของเรา
เม่อื มีการพิจารณาเก่ยี วกับชีวิตของคุณพ่อบอสโกหรือประวัติศาสตร์
กิจการของท่าน ก็มักจะเกิดคำถามเหล่าน้ี แล้วทุกวันน้ลี ่ะ? จะสามารถนำ
ไอเดียน้ไี ปประยุกต์ได้แค่ไหน? วิธีแก้ไขปั ญหาท่คี ุณพ่อเคยใช้จะสามารถนำ
มาแก้ไขปั ญหาท่เี ราต้องพบเห็นและดูจะยากเกินกว่าแก้ได้หรือเปล่า?
เป็ นต้นว่า การเสวนาระหว่างวยั ความสามารถในการส่อื คุณค่า การส่อื มุม
มองของความจริงต่างๆ ฯลฯ
พ่อคงไม่เสียเวลามาพูดถึงความแตกต่างระหว่างสมัยของคุณพ่อบอส
โกกับสมัยของเรา ซงึ่ แต่ละอย่างก็ไม่ใช่เร่อื งเล็กน้อยและมีอยู่ในทุกพ้ นื ท่ี
อาทิ สภาพเยาวชน ครอบครัว พฤติกรรม รูปแบบการศึกษาอบรม ชีวิต
ส ัง ค ม กา รป ฏิบ ัติศ าส นา เ ป็ น ต้น แล ะ ห า ก จ ะ พ ย า ย า ม ย ้อ น ร อ ย
ประวัติศาสตร์อย่างซ่อื สัตย์ ก็คงต้องลำบากท่จี ะเข้าใจประสบการณ์แห่ง
อดีต และลำบากไปกว่าน้นั หากจะนำประสบการณ์เหล่าน้นั มาใช้ดำเนินชีวิต
และปฏิบัติในบริบทท่แี ตกต่างไปโดยส้นิ เชิง
กระน้นั ก็ดี เรามีความตระหนักใจว่าส่งิ ท่เี กิดข้นึ กับคุณพ่อบอสโกน้นั
เป็ นช่วงเวลาเต็มเปี่ ยมแห่งพระหรรษทาน และเราสามารถใช้เป็ นแรง

2.2 Page 12

▲back to top
บันดาลใจสำหรับผู้ปกครองและผอู้ บรมท่จี ะนำมาประยุกต์ใช้ในบริบท
ปั จจุบัน ตอกย้ำให้รู้ว่ามีความคิดหลายอย่างท่พี ร้อมจะนำไปพัฒนาได้
เหมือนดังเมล็ดท่พี ร้อมจะงอกสู่ชีวิต”5
1.2. รักปกป้ อง
บทเรียนอย่างหนงึ่ ท่เี ราต้องเรียนรู้คือการป้ องกัน อาทิ ความจำเป็ น
ของการป้ องกัน ประโยชน์ ผลกระทบและความรับผิดชอบท่ตี ้องมี
ปั จจุบันน้ที ่เี ราต่างรับรู้ข้อมูลหลายอย่างท่นี ่าตกใจ เราก็ย่งิ จะเห็นความ
จำเป็ นของการป้ องกัน แต่การท่ยี อมรับหลักการและนำไปปฏิบัติอย่างมี
ประสิทธิผลในสถานการณ์สังคมในปั จจุบันน้นั ไม่ง่าย น่าเสียดายว่าเร่อื งน้ี
ไม่ได้รับความสนใจ
เท่าท่คี วร
ก ร ะ น้นั ก ็ด ี ก า ร ป้ อ ง ก ัน เ ป็ น เ ร่อื ง ไ ม ่ต ้อ ง ล ง ท ุน ม า ก ม า ย แ ต ่ม ี
ประสิทธิผลมากกว่ามาตรการแก้ไขความผิดและการฟ้ ื นฟูหลังต้องคดี อันท่ี
จริงแล้ว การป้ องกันเป็ นการช่วยให้เยาวชนส่วนมากหลุดพ้นจาก
ประสบการณ์เชิงลบหลากหลายรูปแบบ ซงึ่ แต่ละอย่างล้วนทำใหพ้ วกเขา
ต้องเส่ยี งต่อการเสียสขุ ภาพ การพัฒนาด้านจิตวิทยา การใช้ศักยภาพท่มี ี
และความสุขนิรันดร ในเวลาเดียวกันก็ทำให้พวกเขาได้ใช้พรสวรรค์ท่มี ี
อย่างเต็มท่ี ได้ประโยชน์สูงสุดจากโอกาสการศึกษาอบรมท่มี ี และสามารถ
แก้ไขความผิดพลาดท่ที ำไว้ในอดีต น่คี ือข้อสรุปท่คี ุณพ่อบอสโกได้จาก

2.3 Page 13

▲back to top
ประสบการณ์การทำงานเพ่อื เยาวชนท่ถี ูกจำจองในคุกและการติดต่อกับ
เยาวชนท่ขี ายแรงงานในกรุงตุริน
การป้ องกันในรูปแบบตำรวจเพ่อื รักษากฎหมายในสังคมกลายเป็ น
ลักษณะสำคัญและพ้ นื ฐานของการอบรมของคุณพ่อบอสโก เป็ นการป้ องกัน
เพราะไร้ซึ่งกาลเวลาและเพราะรูปแบบและวิธีการท่คี ุณพ่อนำมาใช้ คุณพ่อ
มองเห็นล่วงหน้าถึงสถานการณ์เลวร้าย ไม่ว่าจะเป็ นด้านร่างกายหรือด้าน
จิตใจ อีกท้งั พฤติกรรมท่จี ะตามมา ในเวลาเดียวกันคุณพ่อก็หามาตรการ
เพ่อื รักษาคุณภาพท่ดี ีในแต่ละบุคคลและช้แี นะไปสู่โครงการท่นี ่าดึงดูดใจ
และมากด้วยประโยชน์ คุณพ่อตระหนักถึงความดีในจิตใจของเยาวชน
แต่ละคน แม้แต่ในตัวเยาวชนท่เี ลวร้ายกว่าหมดก็ยังมีเมล็ดแห่งความดีอยู่
จึงเป็ นหน้าท่ขี องผอู้ บรมท่ชี าญฉลาดท่ีจะค้นพบและช่วยพวกเขาพัฒนา
ความดีน้นั ๆ เพ่อื ทำเช่นน้ไี ด้จำต้องสร้างบริบทท่ดี ีๆ อาทิ บรรยากาศ
ครอบครัว เพ่อื นๆ ส่งิ ท่ตี ้องทำ ส่งิ ท่ตี ้องเรยี นรู้ ซงึ่ แต่ละอย่างจะเป็ นตัว
กระตุ้นให้เยาวชนเกิดความสำนึก และเรียนรู้โลกแห่งความจริงให้กว้างข้นึ
ซงึ่ แต่ละอย่างจะเอ้ อื ใหพ้ วกเขาพบความสุขกับการดำเนินชีวิตและได้ล้มิ
รสชาติแห่งความดี
น่คี ือวิธีการท่คี ุณพ่อบอสโกใช้ในการเข้าหาไมเกิล มาโคเน “ขุนพล
น้อย” แห่งสถานีรถไฟการ์มาโญลา เพ่อื มอบความเป็ นมิตรให้ ตามด้วย
การศึกษาอบรมในศูนย์เยาวชนแห่งวัลดอกโก การช้นี ำท่เี ช่ยี วชาญ (“มาร์
โคเนท่รี ัก พ่ออยากให้เธอช่วยพ่ออย่างหนงึ่ ...คือปล่อยให้พ่อมองเข้าไปใน

2.4 Page 14

▲back to top
จิตใจของเธอสักพักหนึ่ง”) ในท่สี ุด คุณพ่อบอสโกก็สามารถช่วยเขาให้พบ
ความหมายแห่งชีวิตและแหล่งท่มี าแห่งความสุขแท้ในพระเจ้า (“โอ ผมมี
ความสุขเหลือเกิน”) พร้อมท้งั ยกย่องเขาให้เป็ นแบบอย่างสำหรับเยาวชน
เม่อื วานน้แี ละวันน้ี
ปั ญหาอย่างหนงึ่ ในสังคมทุกวันน้คี ือการให้การศึกษาอบรมท่ยี ังไม่
เพียงพอและไปไม่ถึงทุกคน เด็กหลายคนจึงหลุดออกนอกทางและไม่ได้รับ
ส่งิ ท่พี วกเขาแสวงหา การศึกษาอบรมดังกล่าวจึงไม่ครอบคลุมไปถึงเด็กท่ี
ยงั ไม่มีความพร้อมหรือตามคนอ่นื ไม่ทัน ดังน้นั เราต้องจัดการกับ
สถานการณ์น้ดี ้วยมาตรการเชิงป้ องกันและจัดให้เด็กและเยาวชนมีการ
ศึกษาอบรมได้อย่างเพียงพอ พร้อมกับการผนึกพลังกับครอบครัว นักการ
เมือง สวัสดิการสังคม ตัวแทนการศึกษา หมู่คณะวัดและปั จเจกบุคคล
การศึกษาอบรม โดยเฉพาะสำหรับเยาวชนท่ดี ้อยโอกาส แทนท่จี ะมองว่า
เป็ นเร่อื งของงานหรือคุณภาพเชิงอาชีพ น่าจะมองเป็ นกระแสเรียกอย่าง
หนงึ่ คุณพ่อบอสโกเป็ นบุคคลท่มี ีพระพรพิเศษและเป็ นผู้บุกเบิกในด้านน้ี
คุณพ่อล้ำหน้าไปไกลก่อนจะมีการ
ตรากฎหมายหรือการสร้างธรรมเนียมประเพณีในเร่อื งน้ี คุณพ่อสำนึกใน
การท้าทายของสังคม และใช้วิธีการเข้าหาเด็กและเยาวชนในแบบของคุณ
พ่อซงึ่ เป็ นผลจากกระแสเรียกท่ไี ด้รับและทำให้การริเร่มิ ทุกอย่างเช่อื มโยง
กับช่อื ของคุณพ่อ ส่งิ ท่เี ราต้องทำเพ่อื ตอบรบั การท้าทายในปั จจุบันก็คงไม่
แตกต่างจากสมัยของคุณพ่อบอสโกนัก นนั่ คือ ขับเคล่อื นพลังทุกอย่างท่มี ี
อยู่ สง่ เสริมกระแสเรียกนักอบรมและสนับสนุนโครงการต่างๆ

2.5 Page 15

▲back to top
ประสิทธิผลเชิงป้ องกันของการอบรมต้งั อยู่ในคุณภาพของการอบรม
ความซับซ้อนทางสังคม ความหลากหลายด้านความนึกคิดและสารท่สี ่อื
ออกมา การแบ่งชีวิตออกเป็ นส่วนๆ ก่อผลเสยี ให้แก่การอบรมด้วย ส่งิ
หนงึ่ ท่เี ห็นได้ชัดคือ ความไม่ต่อเน่อื งระหว่างส่งิ ท่นี ำเสนอกับรูปแบบต่างๆ
ของการตอบรับ เลยกลายเป็ นการใช้ยาควบคุมอาหารไม่เพียงแต่ฝ่ ายกาย
แต่ฝ่ ายจิตใจด้วย คำสโลแกนเลยกลายเป็ นรูปแบบของการส่อื สาร
อันตรายอีกอย่างหนงึ่ คือการเลือกส่งิ ท่มี ีอยู่ตามใจชอบ น่คี ืออัตนิยม
(subjective) การเลือกจึงผ่านจากตลาดไปสู่ชีวิต ใครก็ตามย่อมรู้ดีว่ามัน
ยากท่จี ะรอมชอมระหว่างตัวเลือกท่แี ตกต่างกัน นนั่ คือ ระหว่างผล
ประโยชน์สว่ นตัวกับความเป็ นน้ำหนึ่งใจเดียวกันกับผู้อ่นื ระหว่างความรัก
กับเพศ ระหว่างมุมมองเชิงวัตถุ (objective) กับความสำนึกถึงพระเจ้า
ระหว่างข้อมูลข่าวสารมากมายกับความยากในการเข้าถึงคุณค่าของมัน
ระหว่างสิทธิกับหน้าท่ี ระหว่างอิสรภาพและมโนธรรม
วิธีการของคุณพ่อบอสโกคือการส่งเสริมเยาวชนในทุกเร่อื งท่เี ป็ นเชิง
บวกหรือความทะเยอทะยานท่สี ร้างสรรค์ ช่วยพวกเขาให้เข้าถึงคุณค่าด้าน
วัฒนธรรมซึ่งประกอบด้วยความคิดเห็น ประเพณีและความเช่อื ซึ่ง
แต่ละอย่างเปิ ดโอกาสให้พวกเขาเข้าถึงประสบการณ์ลึกซ้งึ แห่งความเช่อื
ช่วยให้พวกเขามีบทบาทในสังคมท่พี วกเขาสามารถรู้สึกว่าเป็ นส่วนหนึ่ง
ด้วยงานท่ที ำ ด้วยการร่วมรับผิดชอบในความดีส่วนรวมและอุทิศตนเพ่อื

2.6 Page 16

▲back to top
สร้างความกลมกลืนในสังคม คุณพ่อบอสโกใช้คำพูดง่ายๆ เพ่อื ให้เยาวชน
เข้าใจ เช่นว่า “ครสิ ตชนท่ดี ีและพลเมืองท่ซี ่อื สัตย์” “สุขภาพ ความฉลาด
รอบรู้ ความศักดิส์ ิทธิ”์ “เหตุผลและความเช่อื ”
ผลประโยชน์ท่แี ต่ละคนได้รับจากการอบรมจะต้องน ำไปสร้าง
ประโยชน์ให้แก่สังคมด้วยจิตตารมณ์แห่งความเป็ นน้ำหนึ่งใจเดียวกันกับผู้
อ่นื โดยการดำเนินชีวิตซ่อื สัตย์ในผลสำเร็จด้านวัตถุในโลกท่มี ีมิติฝ่ ายจิต
มิติเหนือธรรมชาติและมิติคริสตธรรม การอบรมและการฝึ กฝนด้านอาชีพ
ต้องโยงไปถึงมุมมองคริสตชนเก่ยี วกับโลก การอบรมมโนธรรมและการ
สร้างความสัมพันธ์ฉันพ่นี ้อง
เพ่อื จะไม่ตกในอุดมการณ์ท่เี ลยเถิด คุณพ่อบอสโกเร่มิ จากส่งิ ท่ที ำได้
ปรับเข้ากับสภาพของเยาวชนและสถานการณ์ของผู้ให้การอบรม ใน
ศูนย์เยาวชนของคุณพ่อเด็กสามารถว่งิ เล่น พวกเขาได้รับการต้อนรับอย่าง
อบอุ่น กระทงั่ กลายเป็ นความสัมพันธ์สนิทสนม มีการสอนความรู้ด้าน
ศาสนา พวกเขาเรียนรู้เขียนอ่าน ฝึ กทำงาน รหู้ ลักประพฤติปฏิบัติด้าน
สังคม กฎหมายด้านแรงงาน พร้อมกับความพยายามปรับปรุงให้ดีข้นึ
ปั จจุบันมีการเรียนรู้ท่ไี ม่ได้นำปั ญหาชีวิตเก่ยี วข้องด้วย น่คี ือส่งิ ท่ี
เยาวชนรู้สึกคับขอ้ งใจ นอกน้นั ก็มีการอบรมด้านอาชีพโดยไม่นำพาต่อหลัก

2.7 Page 17

▲back to top
ศีลธรรมหรือมิติด้านวัฒนธรรมเลย มีการอบรมท่จี ำกัดอยู่แค่เวลาปั จจุบัน
และไม่มีการพูดถึงปั ญหาชีวิตแต่อย่างใด
ชีวิตและสงั คมซับซ้อนข้นึ ทุกวัน ใครก็ตามท่ไี ม่มีแผนท่หี รือเข็มทิศก็
อาจจะหลงหรือไปไม่ทันผู้อ่นื การอบรมด้านความนึกคิด ด้านมโนธรรม
และด้านจิตใจจึงเป็ นเร่อื งจำเป็ นมากกว่าหมด
“พ้ นื ท่ปี ั ญหา” หนงึ่ ของการอบรมทุกวันน้คี ือการส่อื สาร การส่อื สาร
ระหว่างวัยอันเน่อื งมาจากการเปล่ยี นแปลงท่รี วดเร็ว การส่อื สารระหว่าง
บุคคลท่มี ีน้อยลง การส่อื สารระหว่างสถาบันและผู้มาใช้บริการอันเน่อื งมา
จากความเข้าใจเป้ าหมายแตกต่างกันออกไป การส่อื สารทุกวันน้จี ึงสับสน
มีปั ญหา เต็มด้วยความกำกวมอันเน่อื งมาจากเสียงหนวกหูมากเกินไป
หรือมีสารมากจนเลือกไม่ถูก รวมท้งั ผู้ส่อื สารและผู้รับสารไม่ปรับคล่นื ให้
ตรงกัน ผลท่ตี ามมาคือความเข้าใจผิด ความเงียบ ขีดจำกัด การเลือกฟั ง
เฉพาะท่ตี ้องการ การพยายามอยู่ด้วยกันอย่างสงบ ไม่ให้มีเร่อื งมีราว จึง
ยากท่จี ะให้คำแนะนำเก่ยี วกับท่าที การวางตัวหรือการส่อื คุณค่าต่างๆ
1.3. ภาษาหัวใจ
ภาษาหัวใจก็เปล่ยี นไปจากสมัยของคุณพ่อบอสโกไม่น้อย กระน้นั ก็ดี
คุณพ่อยังได้เสนอแนะว่ามันเป็ นเร่อื งง่ายและหากรู้จักนำมาใช้ก็จะได้ใจคน
อ่นื ได้ไม่ยาก ข้อแนะนำอย่างหนึ่งคือ “จงรักเด็ก” “เราจะได้หลายอย่าง

2.8 Page 18

▲back to top
จากเด็กๆ ด้วยสายตาเป็ นมิตร” ใน “จดหมายเก่ยี วกับการลงโทษเด็ก” มี
เขียนว่า “จงใช้คำพูดส่งเสริมให้กำลังใจ แทนท่จี ะเอาแต่ตำหนิ” (BM
XVI, 373)6
รักเด็กคือยอมรับพวกเขาอย่างท่พี วกเขาเป็ น ใช้เวลาอยู่กับพวกเขา
แสดงใหเ้ ห็นว่าเราอยากจะร่วมมีส่วนในค่านิยมและความไว้ใจของพวกเขา
ทำใหเ้ ห็นว่าเราสนุกกับส่งิ เหล่าน้ี ให้ความไว้ใจพวกเขาในส่งิ ท่พี วกเขา
สามารถทำได้ ในเวลาเดียวกันก็อดทนกับข้อบกพร่องอันเกิดจากความหัว
เบาหรือการขาดวุฒิภาวะของพวกเขา น่คี ือส่งิ ท่คี ุณพ่อบอสโกคิด “เยาวช
นทุกคนมีวิกฤติการของพวกเขาเอง อย่างท่ที ่านก็มีเหมือนกัน สวรรค์จะ
ช่วยเราถ้าเราไม่พยายามจะทำให้พวกเขาผ่านพ้นวิกฤติไปอย่างเร่งรีบและ
ไร้ตำหนิใดๆ” (BM XVI, 373)7
มีคำพูดท่ไี ม่ค่อยใช้พูดกันในปั จจุบันน้ซี ึ่งซาเลเซียนภูมิใจท่จี ะรักษา
มันไว้เพราะคำพูดน้สี รุปส่งิ ท่คี ุณพ่อบอสโกได้เรียนรู้เก่ยี วกับความสัมพันธ์
ด้านการอบรมและมอบให้เป็ นข้อแนะนำ นนั่ คือ ความรักใจดี ซงึ่ มีท่มี าใน
ความรักแห่งพระวรสาร ความรักท่ที ำให้ผู้อบรมเห็นถึงแผนการของพระเจ้า
สำหรับเยาวชนแต่ละคนและช่วยเยาวชนให้ส ำนึกถึงแผนการน้ ีและท ำให้
แผนการน้เี ป็ นรูปธรรมด้วยความรักท่เี ป็ นไทและไม่เห็นแก่ตัวตามเย่ยี ง
อย่างความรักของพระเจ้า ความรักใจดีคือความรักท่เี ห็นได้และแสดงออก
ได้

2.9 Page 19

▲back to top
ความรักใจดีเป็ นความรักท่ีแสดงออกมาในรูปแบบท่เี ยาวชนพร้อมจะ
ตอบรับ โดยเฉพาะเยาวชนท่ยี ากจน เป็ นการเข้าหาด้วยความไว้ใจ เข้าหา
เป็ นฝ่ ายแรก พูดคำแรก ให้ความเคารพอย่างท่พี วกเขาเข้าใจได้ สนับสนุน
ให้มีความไว้วางใจต่อกัน สง่ เสริมความมนั่ ใจในตนเอง เสนอและส่งเสริม
ให้ร่วมมีส่วนและร่วมพลังเพ่อื เอาชนะความยากลำบากต่างๆ
เช่นน้ี แม้จะยังมีความยากลำบาก แต่ความสัมพันธ์เร่ิมพัฒนาข้นึ
กระน้นั ก็ดียังต้องตีความการหยงั่ รู้ของคุณพ่อบอสโกให้เข้ากับบริบทของเรา
ด้วย ความสัมพันธ์น้จี ะกลายเป็ นมิตรภาพและพัฒนาไปสู่ความเป็ นบิดาใน
ท่สี ุด
มิตรภาพเติบโตได้ด้วยท่าทีใกล้ชิดเป็ นกันเองและรับการหล่อเล้ยี ง
จากท่าทีเหล่าน้ี แล้วน้นั ก็เกิดความไว้วางใจ และความไว้วางใจเป็ นทุกส่งิ
ทุกอย่างของการอบรม เพราะนนั่ เป็ นหนทางเดียวท่เี ยาวชนจะเปิ ดประตู
ดวงใจให้เราและเปิ ดเผยความลับของพวกเขาให้เรา พรอ้ มกับบอกเรา
ว่าการตอบสนองเป็ นไปได้ ในกรณีของเรามิตรภาพแสดงออกมาในการ
ดูแล
การจะเข้าใจความหมายของการดูแลซาเลเซียนคงยากหากดูแค่ความ
หมายของคำจากพจนานุกรมท่ใี ช้กันทุกวันน้ี การดูแลเป็ นคำท่บี ่งบอกถึง
ประสบการณ์และมีความหมาย เป็ นคำท่ใี ช้ในความหมายหนึ่งเดียวเท่าน้นั
เป็ นคำบ่งบอกถึงความปรารถนาท่จี ะอยู่กับเยาวชน “ฉันอยากจะอยู่กับ

2.10 Page 20

▲back to top
พวกเธอท่นี ่”ี เป็ นการอยู่ทางกายในท่เี ยาวชนมารวมตัวกัน แลกเปล่ยี น
ความคิดเห็นและวางแผนด้วยกัน ในเวลาเดียวกันก็เป็ นเวลาท่มี ีมิติด้าน
ศีลธรรมท่เี ข้าใจได้ง่าย เป็ นการให้กำลังใจและช้แี นะแนวทาง อีกท้งั ให้คำ
แนะนำตามความต้องการของเยาวชนแต่ละคน
การดูแลจึงเป็ นการอบรมแบบพ่อลูก ซงึ่ มากไปกว่ามิตรภาพ มัน
เป็ นการแสดงออกของความรักและอำนาจแห่งความรับผิดชอบท่เี สนอนำ
และสอน อีกท้งั เรียกร้องให้มีวินัยและความจริงจัง ความเป็ นพ่อจึงเป็ น
ความรักและอำนาจในเวลาเดียวกัน
ส่งิ น้เี ราเห็นได้ดีกว่าหมดในคำว่า “รู้ท่จี ะพูดกับหัวใจ” เป็ นการพูด
แบบตัวต่อตัว ซึ่งเป็ นวิธีปฏิบัติต่อส่งิ ท่เี ยาวชนคิด ช่วยอธิบายให้พวกเขา
เข้าใจในส่งิ ท่กี ำลังเกิดข้นึ ในชีวิตของพวกเขา ในเวลาเดียวกันก็ช่วยให้พวก
เขาเข้าใจในคุณค่าของรูปแบบพฤติกรรมและความรู้สึก หยงั่ ลึกลงไปใน
มโนธรรมของพวกเขา
พูดให้น้อยแต่เข้าจึงประเด็น ไม่หยาบคายแต่ชัดเจน ในวิธีการอบรม
ของคุณพ่อบอสโก มีสองตัวอย่างของวิธีการพูดแบบน้ี นนั่ คือ “ราตรี
สวัสดิ”์ ซึ่งเป็ นคำพูดไม่ก่คี ำท่พี ูดกับแต่ละคนในตอนค่ำ พร้อมกับข้อคิด
เก่ยี วกับส่งิ ท่เี กิดข้นึ ในระหว่างวัน และ “คำพูดกระซิบท่หี ู” ซึ่งเป็ นคำพูด
แบบตัวต่อตัวในรูปแบบไม่เป็ นทางการในช่วงเวลาหย่อนใจ แต่ละคำพูด
เป็ นเร่อื งละเอียดอ่อนเพราะเป็ นการพูดถึงเหตุการณ์ท่เี กิดข้นึ และมีคำ

3 Pages 21-30

▲back to top

3.1 Page 21

▲back to top
แนะนำอันชาญฉลาดว่าจะจัดการกับเหตุการณ์เหล่าน้ไี ด้อย่างไร อันท่จี ริง
แล้ว น่คี ือตัวช่วยในการดำเนินชีวิตและการสอนศิลปะแห่งการดำเนินชีวิต
มิตรภาพ การดูแลและความเป็ นบิดาช่วยสร้าง บรรยากาศครอบครัว
ณ ท่ซี ึ่งมีความเข้าใจด้านคุณค่าและการยอมรับในส่งิ ท่คี ุณค่าเรียกร้อง
และเช่นน้กี ็เกิดมีความสมดุลระหว่างท่าทีแห่งอำนาจซึ่งเส่ยี งท่จี ะไม่มี
อิทธิพลเหนือเยาวชนแม้จะได้ผลภายนอกกับการปฏิบัติกับเยาวชนอย่าง
ไม่มีเป้ าหมาย ความสมดุลระหว่างการก้าวก่ายจนเยาวชนไม่สามารถ
แสดงออกได้อย่างอิสระกับการอบรมแบบปล่อยตามใจอย่างไร้ความผิด
ชอบโดยไม่มีความพยายามจะส่อื คุณค่าใดๆ ความสมดุลระหว่างท่าทีเป็ น
เพ่อื นมากเกินไปกับพฤติกรรมแบบผู้ใหญ่ท่รี ับผิดชอบ
ความเป็ นบิดาของคุณพ่อบอสโก แสดงออกมาในบริบทครอบครัวท่มี ี
ผอู้ าวุโสเป็ นใหญ่ ซึ่งเป็ นลักษณะต้นแบบของการใช้อำนาจ อาทิ ใน
สังคม ในโลกธุรกิจ ในการศึกษา เป็ นต้น แต่ละอย่างจึงมี “ร ูปแบบ
ครอบครัวของตน” ไม่ว่าจะเป็ นการศึกษา ธุรกิจ หรือเศรษฐกิจ การอบรม
ท่มี ีผู้อบรมเล่น “บทบาทพ่อ” จึงไม่ค่อยมีการพูดถึงนัก
สำหรับการอบรมของเรา ไม่มีอะไรสามารถทดแทนความเป็ นบิดาได้
เพราะเป็ นความรักท่ใี ห้ชีวิตและรับผิดชอบต่อการพัฒนา เป็ นความรักจาก
หัวใจอย่างท่คี วรจะเป็ น เป็ นการช่วยกระบวนการแห่งวุฒิภาวะ ยอมรับ
ความเป็ นเอกเทศ และต้อนรับคนท่กี ลับมาด้วยความยินดี

3.2 Page 22

▲back to top
การป้ องกัน ข้อเสนอแนะ และความสัมพันธ์มารวมตัวกันทุกคร้งั ท่เี รา
พบเห็นเยาวชน เยาวชนต้องการแสดงความมีชีวิตชีวาออกมา ส่งิ ท่พี วก
เขารู้สึกภายใน ส่งิ ท่พี วกเขาคิดและวางแผน เยาวชนต้องการมีโอกาสเพ่อื
มีประสบการณ์ของการมีความรับผิดชอบ นำคุณค่าท่ไี ด้เรียนรู้ไปประยุกต์
ให้เป็ นรูปธรรม ฝึ กฝนความเป็ นน้ำหนึ่งใจเดียวกันกับผู้อ่นื อีกท้งั รู้จัก
บรหิ ารชีวิตของพวกเขาเอง
สำหรับนักอบรมซาเลเซียน “กุญแจการอบรมท่ดี ีท่สี ุด” เพ่อื จะรู้จัก
เยาวชน จึงไม่อยู่ท่กี ารทดสอบทางจิตวิทยา หากแต่อยู่ใน “สนามเล่น”
ท่ซี ึ่งเยาวชนสามารถแสดงออกมาได้อย่างเป็ นธรรมชาติ การติดต่อในเชิง
อบรมจึงไม่อยู่ในสถานการณ์แบบทางการ แต่ในรูปแบบเป็ นธรรมชาติ
แม้ว่ากระบวนการเติบโตของเยาวชนจะต้องมีความเคารพในกฎเกณฑ์และ
ความอ่อนน้อมเช่อื ฟั งผู้อบรม กระน้นั ก็ดี ส่งิ ท่พี วกเขาต้องการมากกว่าน้นั
คือการมีโอกาสท่จี ะมีส่วนร่วมในกิจกรรมต่างๆ ด้วยความร่าเริงยินดีและใน
ชีวิตกลุ่ม ชมรม หมู่คณะเยาวชน ณ ท่ซี ึ่งผู้อบรมมีบทบาทในการสร้างแรง
บันดาลใจ ขับเคล่อื น ให้กำลังใจ เปิ ดวิสัยทัศน์และสนับสนุนกิจกรรม
สร้างสรรค์ต่างๆ
กิจการท่ไี ด้รับแรงบันดาลใจจากคุณพ่อบอสโกต่างก็รักษาลักษณะ
จำเพาะท่คี ุณพ่อได้ก่อต้งั ข้นึ แต่ละกิจการจึงพยายามตอบรับความต้องการ
ของเยาวชนอย่างเป็ นรูปธรรมและสอดคล้องกับอุดมการณ์ในแต่ละ

3.3 Page 23

▲back to top
โครงการ อาทิ การเรียนการสอน หอพัก การเตรียมความพร้อมสำหรับงาน
ท่จี ะทำและการพักผ่อน เป็ นต้น นอกน้นั ก็ยังรวบรวมผู้ใหญ่ให้มาอยู่ด้วย
กัน โดยเฉพาะอย่างย่งิ ชนช้นั กรรมกรหรือผู้ท่สี นใจช่วยผู้อ่นื จึงเป็ น
กิจกรรมท่เี ปิ ดกว้างสำหรับทุกคน พร้อมกับเครือข่าย การร่วมมือกับ
สถาบันต่างๆ ชุมชนท้องถ่นิ ประชาชนและผู้มีอำนาจทางบ้านเมือง
ปั จจุบันน้ี เยาวชนต้องการ “พ้ นื ท่”ี สำหรบั เยาวชน ไม่ว่าจะขนาด
เล็ก ขนาดกลางหรือขนาดใหญ่ ดังท่เี ห็นได้ชัดจากดิสโกเธคและสถานท่ี
บันเทิงต่างๆ ความโดดเด่ยี วซึ่งเป็ นผลมาจากพฤติกรรมท่เี บ่ยี งเบนมักจะ
ก่อปั ญหาและความเสียหายให้เยาวชน การวิเคราะห์เชิงการอบรมเจาะลึก
เข้าถึงประเด็นของความแตกต่างระหว่างสถานท่จี ัดข้นึ เพ่อื จุดประสงค์
จำเพาะกับ “สถานท่เี พ่อื ชีวิต” ท่เี ปิ ดให้เข้าออกอย่างเป็ นธรรมชาติ เพ่อื
ค้นหาความหมาย โครงการ การสร้างสรรค์ ระหว่างสถานท่บี ังคับกับสถาน
ท่เี ลือกอย่างอิสระ ระหว่างสถานท่กี ำหนดให้กับสถานท่เี พ่อื ชีวิต ในกรณี
ของคุณพ่อบอสโก คุณพอ่ ผสมผสานสถานท่สี องประเภทน้เี ข้าด้วยกัน เพ่อื
ว่าความแตกต่างเชิงการอบรมจะได้หมดไป
2. สนับสนุนการพัฒนาของเยาวชนไปสู่ความ
เต็มเปี่ ยม
แห่งศักยภาพ

3.4 Page 24

▲back to top
เม่อื ต้องเผชิญหน้ากับสถานการณ์เยาวชน คุณพอ่ บอสโกได้เลือกการ
อบรม เป็ นการอบรมท่เี ล็งเห็นล่วงหน้าถึงความชวั่ ด้วยการไว้วางใจในความ
ดีท่มี ีอยู่ในจิตใจของเยาวชนแต่ละคน อีกท้งั ศักยภาพท่สี ามารถพัฒนาได้
ด้วยความพากเพียรมนั่ คง ในเวลาเดียวกันก็คำนึงถึงความเป็ นปั จเจกของ
เยาวชนแต่ละคน การอบรมก่อให้เกิดปั จเจกบุคคลท่สี มบูรณ์ มีบทบาท
และรับผิดชอบในฐานะพลเมืองดี เปิ ดสู่คุณค่าแห่งชีวิตและความเช่อื เป็ น
ชายและหญงิ ท่สี ามารถให้ความหมายแก่ชีวิตของตนได้ด้วยความยินดี
สำนึกในความรับผิดชอบและความเช่ยี วชาญของตน จึงเป็ นการอบรมท่ี
กลับกลายเป็ นประสบการณ์ฝ่ ายจิตท่แี ท้จริงและสัมผัส “ความรักของ
พระเจ้าผู้ทรงจัดหาทุกอย่างสำหรับส่งิ สร้างของพระองค์เป็ นการล่วงหน้า
ทรงประทับอยู่เคียงข้างและทรงมอบชีวิตของพระองค์เพ่อื กอบกู้พวกเขา
โดยไม่หวังส่งิ ใดตอบแทน” (พระวินัยซาเลเซียน 20) การจะเลือกการ
อบรมแบบคุณพ่อบอสโกในทุกวันน้จี ำต้องคำนึงถึงการเลือกพ้ นื ฐานบาง
อย่าง
2.1. แบ่งปั นความไว้วางใจในการอบรม
ยุคของเราดูจะให้ความไว้ใจในการศึกษาอบรม จึงได้มีความพยายาม
ท่จี ะขยายโอกาสการศึกษาอบรมไปถึงทุกคน จึงมีความพยายามต่อเน่อื งท่ี
จะดัดแปลงระบบการศึกษาอบรมให้สามารถตอบรับการท้าทายท่เี กิดข้นึ ใน
ท่ที ำงาน เร่มิ ต้งั แต่การพัฒนาความรู้และรูปแบบการบริหารสังคม นอกน้นั
ก็มอบหมายเร่อื งน้ใี ห้แก่สถาบันท่เี ช่ยี วชาญมากข้นึ มีการเน้นวัฒนธรรม

3.5 Page 25

▲back to top
แห่งการส่อื สาร ขอ้ มูลข่าวสารเชิงวิทยาศาสตร์และการเตรียมความพร้อม
เชิงอาชีพ อีกท้งั มีการขยายความรับผิดชอบไปยังสถาบันครอบครัว สงั คม
และรัฐ ย่งิ ทีย่งิ มากข้นึ
ดังน้นั การศึกษาอบรมจึงเป็ นกิจกรรมด้านสังคม ซึ่งรบั รู้ถึงสิทธิแ์ ละ
ความต้องการของทุกคน ปั ญหาเก่ยี วกับการศึกษาอบรมจึงเป็ นความสนใจ
ของทุกคน นักบริหารและนักธุรกิจต่างก็ให้ความสนใจเร่อื งน้เี ช่นกัน โดย
พ้ นื ฐานแล้ว มันเป็ นเร่อื งการยอมรับในคุณค่าหนึ่งเดียวของปั จเจกบุคคล
และการท่ปี ั จเจกบุคคลเป็ นศูนย์กลางของวิวัฒนาการทางวัฒนธรรม ชีวิต
สังคมและแม้กระทงั่ กระบวนการผลิตด้วย
พระศาสนจักรมีความสนใจเร่อื งน้เี ช่นกันและมีแนวทางเก่ยี วกับเร่อื ง
น้คี ่อนข้างมาก การร่วมมีส่วนในงานด้านการศึกษาอบรมเห็นได้เด่นชัดใน
หลายบริบท ท้งั ในด้านการขยายการศึกษาและคุณภาพ ความเช่อื มโยง
ร ะ ห ว ่าง กา ร ป ร ะ กา ศข ่าว ด ีแ ล ะ ก า ร ศ ึก ษ า อ บ ร ม ท ำ ใ ห ้พ ร ะ ศ า ส น จ ัก ร เ ห ็น
ว่าการศึกษาอบรมเป็ นพันธกิจท่อี ยู่ในหัวใจของภารกิจของพระศาสนจักร
ทำใหพ้ ระศาสนจักรเห็นในบทบาทของตนเองและความต้องการท่จี ะเป็ นนัก
อบรม
ส่งิ ท่เี ห็นได้ชัดเจนกว่าหมด คือชีวิตของนักอบรมผู้ศักดิส์ ิทธิซ์ ึ่งได้
ทำใหห้ น้าท่กี ารศึกษาอบรมเป็ นการแสดงออกของความรักของพระเจ้า
ความรักท่พี วกเขาท่มี ีต่อมนุษยชาติท่เี ห็นเป็ นรูปธรรมและเส้นทางแห่ง
ความศักดิส์ ิทธิ์ แล้วน้นั ก็มีสถาบันและกลุ่มต่างๆในพระศาสนจักรท่ีตาม

3.6 Page 26

▲back to top
เย่ยี งอย่างของพวกเขาและถือว่าการศึกษาอบรมเป็ นพันธกิจและรูปแบบ
ชีวิตของตน
คุณพ่อบอสโกและครอบครัวซาเลเซียนอยู่ในกลุ่มบุคคลเหล่าน้ที ่ไี ด้รับ
แรงบันดาลใจจากนักอบรมผู้ศักดิส์ ิทธิ์ พวกเขาต้องการจะตอบรับแรง
ดลใจท่ลี ึกซ้งึ ของบุคคลเหล่าน้แี ละสานต่องานของพวกเขาในปั จจุบัน
พร้อมกับตอบรับการเช้ อื เชิญให้มีการประกาศข่าวดีแบบใหม่
2.2. เริ่มจากคนในฐานะต่ำต้อย
แม้ว่าโดยทวั่ ไปแล้วจะมีความไว้ใจในการอบรม แต่เราก็ยังรู้สึกว่ายังมี
ช่องว่างระหว่างความปรารถนาและความเป็ นไปได้ ระหว่างแถลงการณ์
และการนำแถลงการณ์ไปปฏิบัติ ระหว่างเจตนาและการทำให้เจตนาเป็ นรูป
ธรรม ระหว่างสิทธิท่เี ป็ นท่ยี อมรับและการให้หลักประกันแก่สิทธิเหล่าน้ี
ช่องว่างดังกล่าวน้เี ราสามารถพบเห็นได้ในหลายบริบท
ดังน้นั ส่งิ แรกท่เี ราจะต้องคำนึงคือการขาดการบริการและเง่อื นไขท่ี
จำเป็ นเพ่อื การศึกษาอบรม ในตอนเร่มิ ต้นแห่งสหัสวรรษท่สี าม พ้ นื ท่แี หง้
แล้งแห่งศึกษาอบรม เป็ นเหมือนทะเลทราย ไม่ได้ลดขนาดลงแต่อย่างใด
มีแต่ขยายกว้างออกมาไปเร่อื ยๆ
ทวั่ โลก โอกาสของการศึกษาอบรมลดลงอย่างน่าใจหาย ท้งั ในแง่การ
ขาดการศึกษาอบรมและในแง่ของจำนวนประชากรท่เี พ่มิ ข้นึ ความขัดแย้ง

3.7 Page 27

▲back to top
ภายใน การหยุดการบริการ การบริหารท่ลี ้มเหลวและเต็มด้วยความโลภ
ตลอดจนความเส่อื มทางสังคมและการเมืองซึ่งทำให้จำนวนประเทศด้อย
พัฒนามีมากข้นึ และบุคคลท่ตี กเหย่อื แรกคือเยาวชน
นอกน้นั มีการลดโอกาสของการศึกษาอบรมในสังคมท่กี ้าวหน้า ซึ่ง
เห็นได้ชัดในการขาดโอกาสการศึกษาในโรงเรียน การขาดการสนับสนุนจาก
ครอบครัว รูปแบบหลากลายของการกระทำผิด เยาวชนท่ตี กงานและการใช้
แร ง ง า นเ ด็ก ท่ขี าด ค ว า ม เ ช่ยี ว ช า ญ ซ ึ่ง ม ัก จ ะ เ ช่อื ม โ ย ง ถ ึง เ ค ร ือ ข ่า ย
อาชญากรรมรูปแบบต่างๆ
ในสถานการณ์เหล่าน้ี เราเห็นถึงการท้าทายใหม่ เช่นว่า ความ
ต้องการท่จี ะมีโอกาสการศึกษาอบรมพ้ นื ฐาน การแบ่งความสนใจ เวลาและ
ทรพั ยากรให้ทวั่ ถึง เพ่อื ให้ส่งิ เหล่าน้ขี ยายไปถึงบุคคลท่ขี าดการศึกษาท้งั ใน
พ้ นื ท่แี ละในระดับโลก
ครอบครัวของเรารับคนจนเป็ นมรดกตกทอดและได้พยายามทำหลาย
อย่างในทวีปท่ยี ากจนอย่างเช่นอัฟริกา เราจึงไม่อาจจะมองข้ามสถานการณ์
น้ไี ปโดยไม่พยายามแสดงท่าทีเชิงประกาศกบางอย่างออกมาให้เห็นเป็ นรูป
ธรรม
2.3. การศึกษาอบรมใหม่

3.8 Page 28

▲back to top
ความกระตือรือร้นท่มี ีต่อการศึกษาอบรมยุคน้เี ป็ นส่งิ ท่ดี ี แต่ก็ยังมี
ความคลุมเครือในด้านการบริหารจัดการและทิศทางท่ชี ัดเจน
มีการพูดกันว่า การศึกษาอบรมช่วยแต่ละคนให้พัฒนาศักยภาพของ
ตนไปสู่ความเต็มเปี่ ยมโดยการอบรมมโนธรรม พัฒนาด้านสติปั ญญา ช่วย
ให้เข้าใจเป้ าหมายชีวิต กระน้นั ก็ดี ยงั มีปั ญหาและความเข้าใจท่แี ตกต่าง
ซงึ่ ก่อให้เกิดความขัดแย้งในการศึกษาอบรมอยู่
ปั จจุบันน้ี เราเห็นว่ามีความไม่สมดุลระหว่างอิสรภาพและความสำนึก
ในด้านศีลธรรม ระหว่างอำนาจและมโนธรรม ระหว่างความก้าวหน้าด้าน
เทคโนโลยีและความก้าวหน้าด้านสังคม ความไม่สมดุลน้ีมีหลากหลายรูป
แบบ เช่นว่า มีการเน้นการมีมากกว่าการเป็ น เน้นความอยากครอบครอง
มากกว่าการแบ่งปั น เน้นการบริโภคมากกว่าการเห็นในคุณค่าของส่งิ บริโภค
น่คี ือความขัดแย้งกันของตัวเลือกซึ่งหากบุคคลใดบุคคลหนึ่งสามารถ
สร้างความกลมกลืนได้ ก็จะเป็ นแหล่งท่มี าของพลัง แต่มันจะกลายเป็ นตัว
ทำลายหากมันสามารถเปล่ยี นแปลงคุณค่าต่างๆ ในชีวิตได้ โดยเฉพาะ
อย่างย่งิ คุณค่าพ้ นื ฐานซึ่งถูกมองข้ามหรือถูกทำให้หมดความสำคัญลง องค์
ประกอบแห่งโครงสร้าง กระแสวัฒนธรรม และรูปแบบต่างๆ ของชีวิต
สังคมสามารถมีอิทธิพลไปในทิศทางเดียว การศึกษาอบรมเรียกร้องให้มี
ท่าทีเชิงบวกแห่งการวินิจฉัย ขอ้ เสนอและการเป็ นประกาศก พ่ออยากจะ

3.9 Page 29

▲back to top
พิจารณาถึงความขัดแย้งเหล่าน้ซี ึ่งเราต้องให้ความสนใจเพ่อื จะได้ฟ้ ื นฟูส่งิ ท่ี
การศึกษาอบรมเสนอให้
2.3.1. ความซับซ้อนและอิสรภาพ
หลายคนมีความรู้สึกว่าเราดำเนินชีวิตอยู่ในโลกท่สี ับสนมากในส่งิ ท่ี
เป็ นความดีและส่งิ ท่เี ป็ นความชวั่ นักสังคมวิทยาต่างก็พูดถึงความซับซ้อน
สถานการณ์สังคมและวัฒนธรรมท่สี ่อื สารหลายอย่างออกมา อีกท้งั ความ
หลากหลายของภาษาของสารท่สี ่อื ความเข้าใจพ้ นื ฐานของชีวิตโดยมีองค์กร
เอกเทศหลากหลายท่สี นับสนุน พรอ้ มกับผลประโยชน์มหาศาลท่ไี ม่
สอดคล้องอยู่เบ้ อื งหลัง นอกน้นั ก็มีองค์กรเป็ นทางการท่เี สนอภาพของ
โลกและภาพของชีวิตมนุษย์อย่างมีอำนาจ รวมท้งั ระบบของกฎเกณฑ์ศีล
ธรรม ภาพของชีวิตความเป็ นอยู่ “รายการ” ของคุณค่าส่วนรวมและบังคับ
ให้ทุกคนยอมรับ
ในสถานการณ์เช่นน้ี กระบวนการศึกษาอบรมจึงเป็ นเร่อื งยากเย็น
คนท่เี ป็ นผู้ใหญ่แล้วก็ไม่รู้ว่าพวกเขาเข้าถึงมรดกแห่งวัฒนธรรมท่แี น่นอน
แล้วหรือยัง ย่งิ ไปกว่าน้นั เวลาท่จี ะส่งต่อมรดกน้ใี ห้ชนรุ่นหลังก็มีน้อย
เต็มที แถมยังมัวแต่วอกแวกกับเร่อื งต่างๆ มากมาย ดังน้นั ส่งิ ท่พี วกเขา
สามารถส่อื ได้ก็มักจะเป็ นส่งิ ท่เี ส่อื มและเสียไปได้ง่ายๆ การศึกษาอบรม

3.10 Page 30

▲back to top
แบบเป็ นชุดจึงดูไม่น่าสนใจและไม่สามารถเข้าใจได้แบบครบองค์ เลยยัง
ต้องพยายามเพ่อื ให้มีการยอมรับ
ผลท่ตี ามมาท่เี ห็นได้ชัดคือ ทุกคน โดยเฉพาะอย่างย่งิ ชนรุ่นเยาว์ต้อง
ลำบากกับการแสวงหาแนวทางของตนต่อหน้าตัวกระตุ้น ปั ญหา ทิศทาง ท่ี
สังคมหยิบย่นื ให้ ประเด็นสำคัญของชีวิตดูจะสับสนและไม่ง่ายท่จี ะ
ประเมิน
ปั ญหาท่ปี ระสพพบเห็นในความพยายามของครอบครัว โรงเรียน
สังคมและสถาบันศาสนาท่จี ะส่อื คุณค่าทางวัฒนธรรมทำให้ยากแก่การ
วางแผนสำหรบั ชีวิต เห็นได้จากการท่คี นมักจะยอมแพ้เม่อื ต้องเผชิญกับ
ความขัดแย้งและความไม่พอใจต่างๆ ในความพยายามท่จี ะทุ่มเทและรักษา
การทุ่มเทระยะยาวไว้ ในการเล่อื นการเลือกต่างๆ ในชีวิตออกไป และใน
การท่ไี ม่สามารถค้นพบบทบาทของตนในสงั คม
ปั ญหาด้านการอบรมเก่ยี วกับอัตลักษณ์ (identity)ไม่ใช่เร่อื งใหม่ ใน
ทุกยุคทุกสมัยเยาวชนต้องเผชิญหน้ากับมันเพ่อื ให้เข้าถึงอัตลักษณ์ของตน
ในการเลือกท่แี ละบทบาทของตนในสังคม
ส่งิ ท่ใี หม่คือสถานการณ์ของปั ญหาในทุกวันน้ี อันท่จี ริง มีองค์
ป ร ะ ก อ บ ผ ส ม ผ ส า น ซ ึ่ง ท ำ ใ ห ้เ ก ิด ก า ร ไ ด ้เ ป ร ีย บ แ ล ะ เ ส ีย เ ป ร ีย บ ใ น เ ว ล า
เดียวกัน ในแง่หนึ่งมีหลายอย่างท่เี ป็ นตัวช่วยและมีอิสระมากข้นึ ราวกับ

4 Pages 31-40

▲back to top

4.1 Page 31

▲back to top
จะบอกเยาวชนเป็ นนัยว่า “จงเลือกและช่วยตัวคุณเอง” ในเวลาเดียวกันก็
มีการสัญญาว่าจะมีความเป็ นเอกเทศและข้อเสนอเพ่อื ทำให้ชีวิตบรรลุความ
เต็มเปี่ ยม แต่ก็ในรูปแบบโดดเด่ยี ว ส่งิ ท่ขี าดไปในทุกวันน้ไี ม่ใช่อิสรภาพ
แต่เป็ นความรู้และความรับผิดชอบ การสนับสนุนและการช้นี ำ
ดังน้นั ในไม่ช้าแต่ละคนจะเผชิญหน้ากับขีดจ ำกัดของตนและ
อุปสรรคท่เี กิดข้นึ ในสงั คมแห่งยุคหลังยุคอุตสาหกรรม นนั่ คือ การแข่งขัน
และการเลือกสรรในทุกสนาม ทุกตลาดแรงงาน ช่วงเวลาอยู่กับพ่อแม่ยาว
ข้นึ โอกาสน้อยนิดเพ่อื มีบทบาทในชีวิตสังคม การขาดทางเลือกอ่นื
ส่งิ น้กี ่อให้เกิดความรู้สึกไม่ปลอดภัยซึ่งทำให้เยาวชนในสังคมของเรา
เ ป ร า ะ บ า ง ก ับ ก า ร แ ส ว ง ห า ผ ล ป ร ะ โ ย ช น ์ใ น ร ูป แ บ บ ต ่า ง ๆ ก า ร
โฆษณาชวนเช่อื ของส่งิ ผลิตทำให้พวกเขาแทบจะไม่มีทางเลือก ไม่เพียงใน
แงข่ องสินค้า แต่ในแง่ของรูปแบบด้วย รูปแบบชายและหญิง อุดมการณ์
แห่งความสวยงาม ความสุข ลำดับคุณค่า แนวพฤติกรรมและการมีบทบาท
ในสังคม
2.3.2. อัตวสิ ัย (subjective)และความจริง
แนวโน้ม ส ู่อ ัตว ิส ัย เป็ นก ุญแ จอ ีก ดอ ก ห น ึ่ง เ พ่อื ตีค ว า มก ร ะ แส
วัฒนธรรม มันเช่อื มโยงกับการยอมรับความเป็ นปั จเจกของแต่ละบุคคล

4.2 Page 32

▲back to top
และคุณค่าแห่งประสบการณ์และชีวิตภายในของเขา แนวโน้มดังกล่าวกำลัง
แพร่หลายไปในบุคคลท่รี ู้สึก “เป็ นเหย่อื ” ของกฎหมาย ของการยัดเยียด
อัตลักษณ์ หรือแนวทางปฏิบัติของสงั คมมาเป็ นเวลาช้านาน ซงึ่ ทำใหพ้ วก
เขาไม่สามารถแสดงความเป็ นตัวตนออกมาได้ กระน้นั ก็ดี อัตวิสัยไม่
สามารถบรรลุเป้ าหมายได้หากข้นึ อยู่กับความนึกคิดของตนฝ่ ายเดียว โดยท่ี
ไม่มีการอ้างอิงกับความเป็ นจริง กับสังคม หรือกับประวัติศาสตร์
การเน้นแง่ส่วนตัวหรือวิธีการเชิงอัตวิสัยเห็นได้ชัดในเร่อื งของศีล
ธรรมและการอบรมมโนธรรม ตัวอย่างท่เี ห็นได้ชัดอย่างหนึ่งคือเพศ ใน
เร่อื งน้ี ประเด็นต้องห้ามท่สี ังคมกำหนดไว้ได้หมดส้นิ ลงแล้ว และแม้แต่
ประเด็นต้องห้ามท่คี รอบครัวกำหนดไว้ก็เช่นกัน สงั คมดูจะผ่อนปรนมาก
ข้นึ ท่จี ริง ข่าวสาร ละคร มักจะล้ำเส้นและเสนอให้เห็นพฤติกรรมเบ่ยี งเบน
อันเป็ นผลจากภาวะท่แี ตกต่างกันไป ประเด็นท่เี ก่ยี วกับศีลธรรมในแง่
มนุษย์ก็มักมีการให้ความสำคัญน้อย หรือไม่ก็มองข้ามไปเฉยๆ แม้กระทงั่
ในรายการท่เี ป็ นทางการและแพร่หลายไปอย่างกว้างขวาง ส่งิ เดียวท่ใี ห้
ความสนใจคือความพึงพอใจทางชีวิตเพศโดยไม่ต้องเส่ยี งต่อสุขภาพกาย
และสุขภาพจิต จึงเป็ นการตัดขาดเพศออกจากองค์รวมท่ใี ห้ความหมายและ
ศักดิศ์ รีแก่เพศมนุษย์
การขาดการอ้างอิงกับความจริงน้นั เห็นได้จากแนวปฏิบัติในด้าน
เศรษฐกิจและกิจกรรมสังคมด้วย บ่อยคร้งั มักจะยึดตัวเองเป็ นมาตรฐาน

4.3 Page 33

▲back to top
และใช้การตกลงระหว่างคู่ธุรกิจเป็ นหลัก พวกเขาไม่คำนึงถึงความดีของ
ส่วนรวมหรือผลประโยชน์ทางเศรษฐกิจหรือทางสังคมเสมอไป
คุณภาพของการอบรมจึงข้นึ กับการเช่อื มต่อช่องว่างระหว่างอิสรภาพ
ของการเลือกและการอบรมมโนธรรม ระหว่างความจริงเชิงวัตถุวิสัย
(objective) และปั จเจกบุคคล ระหว่างผลของการเลือกท่เี ป็ นรูปธรรมและ
การคอยตรวจสอบอัตวิสัยท่เี กินความพอดี และในการเห็นความจริงเชิง
วัตถุวิสัยแหง่ สถานการณ์และคุณค่าต่างๆ
2.3.3. ผลประโยชน์ของบุคคลและความเป็ นน้ำหน่งึ ใจ
เดียวกันกับผู้อ่นื
ความซับซ้อนและอัตวิสัยมีอิทธิพลเหนือความสมดุลระหว่างการ
แสวงหาผลประโยชน์ของตนและความพร้อมในการเปิ ดสู่ความต้องการของ
ผอู้ ่นื
คร้งั หนึ่งเคยมีความคิดว่าการจัดสังคมให้อิสระและยุติธรรมน้นั ยังเป็ น
ไปได้ โดยทางกฎหมายและโครงสร้างท่มี ีภาวะเหมาะสมเพ่อื ความเป็ นอยู่ท่ี
ดีของทุกคน เยาวชนหลายคนทุ่มเทในการเปล่ยี นแปลงสังคมและปลด
ปล่อยผู้คนให้เป็ นอิสระ การเตรียมเพ่อื บทบาททางการเมืองเป็ นส่วนหนึ่ง

4.4 Page 34

▲back to top
ของการอบรมด้านมนุษย์และเป็ นการปฏิบัติความเช่อื จึงเป็ นการ
แสดงออกของวุฒิภาวะแห่ง
ความรับผิดชอบและอุดมการณ์สูงส่ง
แต่แล้วก็จบลงด้วยฤดูหนาวแห่งอุตม (utopia) การส้นิ สุดของ
อุดมการณ์ รวมไปถึงโครงการร่วมกัน ปั ญหาสังคม และความขัดแย้ง
ระหว่างสถาบันท่ตี ้งั ข้นึ ความแตกต่างด้านการเมืองนำไปสู่การต่อล้อต่อ
เถียง
การเมืองกลายเป็ นการบันเทิงและไม่ใช่การบันเทิงท่สี ร้างสรรค์เสมอไป
แล้วน้นั ก็ตามด้วยการสูญเสียความเคารพต่อตนเองและประชาชนเร่มิ ไม่
พอใจเพราะขาดการมีส่วนร่วม ความช่นื ชมในความดีของส่วนรวมก็หมด
ส้นิ ลงและไม่มีอะไรสามารถมาแทนท่ไี ด้ ท่สี ุดก็เหลอื แค่ “เศษเล็กน้อย”
ของน้ำใจดีทางสังคมสำหรับมอบให้แก่กันและกัน
ปั จจุบันน้ี เรากำลังดำเนินชีวิตในยุคของ “ตลาด” ในแง่ท่เี ป็ น
ทัศนคติและวิธีการมองของสงั คม มุมมองส่วนตัวในกิจกรรมสังคมกลาย
เป็ นใหญ่ สังคมถูกมองว่าประกอบข้นึ ด้วยจำนวนคนท่มี ารวมกัน แต่ละคน
ก็มุ่งแสวงหาผลประโยชน์ของตนเป็ นหลัก สร้างความพึงพอใจให้ตนเอง
อย่างไม่มีขอบเขต ความปรารถนาและสิทธิของแต่ละบุคคลเป็ นเอก
ในกระแสของการหาความพึงพอใจอย่างไม่ส้นิ สุดน้ี แต่ละคนจะไม่
สนใจต่อความต้องการพ้ นื ฐานท่ีแท้จริง อุดมการณ์ด้านความยุติธรรมใน

4.5 Page 35

▲back to top
สังคมและความเป็ นจิตหนึ่งใจเดียวกันกับผู้อ่นื กลายเป็ นแค่สูตรว่างเปล่า
และถูกมองว่าเป็ นเร่อื งท่ที ำไม่ได้
ดังน้นั หลายคนเห็นว่าในตลาดมีหลักศีลธรรม วัฒนธรรมและ
กฎหมายท่เี ป็ นอุปสรรคต่อการเติบโตของผู้ใหญ่และเยาวชนท้งั ในระดับชาติ
และระดับนานาชาติในแง่ของทัศนคติแห่งการร่วมมือกัน
2.4. วุฒิภาวะแห่งความเช่อื ของเยาวชนในบรบิ ทน้ี
ความซับซ้อน อัตวิสัยและมุมมองแบบปั จเจกนิยมเก่ยี วกับบุคคลมี
อิทธิพลอย่างมากต่อเยาวชนในกระบวนการสู่วุฒิภาวะแห่งความเช่อื ซงึ่
ประกอบด้วยการเปิ ดใจ ความเป็ นอันหนึ่งอันเดียวกันและการยอมรับชีวิต
และประวัติศาสตร์อย่างท่เี ป็ นจริง
ทุกวันน้มี ีเหตุการณ์สองอย่างท่นี ่าแปลก มีการแพร่หลายของความ
สำนึกในศาสนาในรูปแบบท่หี ลากหลาย อันเน่อื งมาจากการแสวงหาความ
หมายในสงั คม อีกท้งั ความเข้าใจลอยๆ เก่ยี วกับมิติแห่งชีวิตท่ไี ม่อาจจะ
แสดงออกมาได้ กระน้นั ก็ดี เราสังเกตเห็นถึงการขาดเป้ าหมายหลักและ
แรงบันดาลใจ ซงึ่ ก่อให้เกิดช่องว่างระหว่างประสบการณ์ด้านศาสนา ความ
เข้าใจชีวิตและการเลือกเชิงศีลธรรม ความจริงฝ่ ายศาสนาถูกลดลงมาเป็ น
ความคิดเห็น ส่งิ ท่พี ระศาสนจักรมอบให้ก็เป็ นปั ญหา แม้กระทงั่ ศาสนบริกร

4.6 Page 36

▲back to top
แต่ละคนหรือตัวแทนของพระศาสนจักรก็เป็ นปั ญหา คนจึงพากันเลือกใช้
บริการเฉพาะท่ตี นต้องการ
มีฝ่ ายข้างน้อยจำนวนหนึ่งท่ศี ึกษา มีความสุขและพัฒนาชีวิตคริสตชน
ท่มี ีวุฒิภาวะและแสดงออกมาในความเช่อื ในความสำนึกในพระศาสนจักร
และในการอุทิศตนเพ่อื สังคม กระน้นั ก็ดี ยงั มีเยาวชนจำนวนมากท่ไี ด้ยิน
การประกาศข่าวดีแล้วก็หลุดลอยไปจากความเช่อื โดยไม่รู้สึกเสียใจแต่อย่าง
ใด ช่วงเวลาการอบรมด้านศาสนาจึงยาวข้นึ และไม่มีใครมัน่ ใจได้ว่าจะมี
เน้ อื หาเหมาะสมเพ่อื ใช้ในการอบรมได้อย่างทวั่ ถึง
ส่งิ เหล่าน้ที ำให้ความเช่อื กลายเป็ นเร่อื งของความชอบพอของแต่ละ
คน เม่อื ตัดขาดจากพ้ นื ฐานมนั่ คงแห่งเหตุการณ์ทางประวัติศาสตร์แห่ง
ความรอด ความเช่อื ก็เปราะบาง เปิ ดทางไปสู่บริโภคนิยมท่แี ต่ละคนนำไป
ใช้ตามใจชอบ เช่นน้ี ความเช่อื ก็กลายเพียงแง่หนึ่งของชีวิตและแยกออก
มาจากแง่อ่นื ๆ เป็ นเอกเทศ ช่องว่างระหว่างชีวิตและความเช่อื ระหว่าง
ชีวิตและวัฒนธรรมสร้างปั ญหาให้เราและแก่เยาวชนกำลังเติบโตข้นึ มาอย่าง
น่ากลัว พระศาสนจักรจึงต้องสร้างความสำนึกแห่งการเป็ นหมู่คณะท่เี ข้ม
ข้น อีกท้งั ทุ่มเทเพ่อื สงั คมและงานธรรมทูตมากข้นึ
2.5. การตอบรับของครอบครัวซาเลเซียน

4.7 Page 37

▲back to top
เยาวชนคาดหวังอะไรจากครอบครัวซาเลเซียนบ้าง? เราได้ใช้ความ
พยายามแค่ไหนเพ่อื ตอบสนองความคาดหวังของพวกเขา?
ปั จจุบันน้มี ีนักอบรมมากข้นึ เร่อื ยๆ โดยเฉพาะนักอบรมอาชีพ นอก
น้นั ก็ยังมีนักอบรมไม่เป็ นทางการซึ่งไม่มีบทบาทจำเพาะหรือเป็ นนักอบรม
โดยอาชีพ มีวิธีการอบรมท้งั ท่มี ีการตีพิมพ์แพร่หลายและท้งั ท่ไี ม่เป็ นท่รี ู้จัก
ในกระบวนการอบรม จึงมีหลายคนเลือกและดำเนินการตามส่งิ ท่มี ีเสนอให้
หรือไม่ก็ท่คี ้นพบด้วยตนเอง ปั จจุบันน้จี ึงยากท่ีจะแต่งต้งั คนหนึ่งคนใดให้
ทำหน้าท่อี บรมโดยหวังว่าเขาจะสามารถควบคุมกระบวนการอบรมได้ด้วย
ตนเอง เยาวชนจึงมักแต่งต้งั นักอบรมของพวกเขาเองอย่างเงียบๆ เม่อื
พวกเขาเปิ ดจิตใจและหัวใจให้เรา เม่อื พวกเขาอยากจะฟั งคำพูดดีๆ จาก
เราหรืออยากจะเห็นเราทำในส่งิ ท่ชี ่วยให้ชีวิตของพวกเขามีความหมาย
ความรับผิดชอบน้จี ึงอาจจะตกมาถึงใครและในเวลาใดก็ได้
ประสิทธิผลของการอบรมของผู้อบรมท่ไี ด้รับแต่งต้งั เพ่อื งานโดย
เฉพาะกับของนักอบรมสมัครใจทำเองน้นั ข้นึ อยู่กับตัวแปรสามอย่าง นนั่ คือ
ความน่าเช่อื ถือของส่งิ ท่ผี ู้อบรมช้แี นะเก่ยี วกับสถานการณ์ท่เี ยาวชนดำเนิน
ชีวิตอยู่ การเป็ นประจักษ์พยานของตัวนักอบรม และความสามารถในการ
ส่อื สาร
น่คี ือส่งิ ท่ที ้าทายสำหรับผู้ใหญ่ กล่าวคือ การเสนอแนวทางและข้อ
แนะนำให้แก่ผู้รับการอบรมโดยไม่นำพาต่อความซับซ้อนและการเรียกร้อง

4.8 Page 38

▲back to top
ของอัตวิสยั นิยม อีกท้งั ไม่เอาแต่ให้คำแนะนำแบบลอยๆ แต่ต้องนำผู้รับ
การอบรมไปสู่ส่งิ ท่ใี ห้ความหมายแท้จริงแก่ชีวิตมนุษย์ พร้อมกับความ
สามารถในการวินิจฉัย เพราะเหตุน้ี ครอบครัวซาเลเซยี นพงึ ให้ความสำคัญ
แก่ตัวแปรสามอย่างน้เี ป็ นพิเศษ
2.5.1. กลับไปอยู่กับเยาวชนด้วยประสิทธิภาพมากข้นึ
คุณพ่อบอสโกได้สร้างรูปแบบชีวิต งานอภิบาล วิธีการอบรม ระบบ
และชีวิตจิตของคุณพ่อเม่อื อยู่ท่ามกลางเด็กๆ การทุ่มเทแบบจำเพาะ
เจาะจงของคุณพอ่ บอสโกสำหรับงานเพ่อื เยาวชนเป็ นรูปธรรมในทุกแห่ง
และทุกเวลา แม้กระทงั่ เม่อื คุณพ่อไม่มีโอกาสคลุกคลีกับเด็กๆ เพราะ
เหตุผลบางอย่างหรือเพราะต้องทำภารกิจบางอย่างท่ไี ม่เก่ยี วข้องกับเด็กๆ
โดยตรง หรือในเวลาท่คี ุณพ่อต้องปกป้ องพระพรพิเศษแห่งการเป็ นผู้ต้งั
คณะเพ่อื รับใช้เยาวชนทวั่ โลกอย่างเหนียวแน่นเม่อื มีแรงกดดันจากผู้ใหญ่
ฝ่ ายพระศาสนจักรท่ไี ด้รับข้อมูลผิดๆ ภารกิจซาเลเซียนได้รับการเจิม จึง
เป็ น “ความรักพิเศษ” สำหรับเยาวชน และความรักพิเศษน้เี ป็ นของขวัญ
จากพระเจ้าท่เี ราต้องใช้สติปั ญญาและหัวใจเพ่อื พัฒนาและนำไปสู่ความเต็ม
เปี่ ยม
ซาเลเซียนแท้จะไม่ยอมละท้งิ สนามเยาวชน ซาเลเซียนคือบุคคลท่ี
รู้จักเยาวชนจากประสบการณ์ส่วนตัว หัวใจเขาเต้นจังหวะเดียวกันกับหัวใจ

4.9 Page 39

▲back to top
เยาวชน ซาเลเซียนดำเนินชีวิตเพ่อื เยาวชน ทุ่มเทตนเองเพ่อื แก้ปั ญหาของ
เยาวชน เยาวชนเป็ นผู้ให้ความหมายแก่ชีวิตซาเลเซียน กิจการ โรงเรียน
ชีวิตด้านความรัก เวลาว่าง เวลาพักผ่อนหยอ่ นใจ ในเวลาเดียวกัน ซาเล
เซยี นคือผู้เช่ยี วชาญด้านเยาวชนท้งั ทางทฤษฎีและทางประสบการณ์แห่ง
ชีวิตซึ่งช่วยให้เขาค้นพบความต้องการแท้จริงของเยาวชนและสร้างงาน
อภบิ าลเยาวชนท่สี อดคล้องกับความต้องการแห่งกาลเวลา
ความซ่อื สัตย์ต่อภารกิจของเราจะมีประสิทธิผลแท้จริงหากเราเข้าถึง
วัฒนธรรมปั จจุบัน พร้อมกับกระแสความนึกคิดและท่าที เรากำลังเผชิญ
หน้ากับการท้าทายท่ใี หญ่มากซึ่งเราต้องรู้จักสังเกตเชิงวิเคราะห์ พิจารณา
ตรวจสอบวัฒนธรรมอย่างลึกซ้งึ อีกท้งั สามารถช่นื ชมกับสถานการณ์เชิง
จิตวิทยา ในบริบทเช่นน้ี การส่อื สารเชิงอบรมต้องเลือกเส้นทางการส่อื สาร
ท่เี หมาะสม
ส่งิ แรกท่เี ราทำคือ สนใจและค้นคว้าร่วมกัน แทนท่จี ะใช้แต่วิธีการแก้
ปั ญหาท่เี ตรียมไว้แบบสำเร็จรูปแล้ว นอกน้นั ต้องมีการเสวนาในทุกระดับ
แทนท่จี ะยึดถือแค่บางข้อมูล ต้องมีความโปร่งใสและการอธิบาย แทนท่จี ะ
เสนอความจริงแค่ครึ่งเดียว
ในความพยายามท่จี ะเข้าถึงภาพรวมของโลก เยาวชนมักจะฟั ง มี
ปฏิกิริยาโต้ตอบ ไตร่ตรองและทดลอง พวกเขารู้สึกเหมือนกับอยู่ในตลาด

4.10 Page 40

▲back to top
ณ ท่ซี ึ่งพวกเขาเห็นราคาและคุณภาพของส่งิ ท่นี ำมาเสนอให้และพวกเขา
สามารถเลือกได้ตามใจชอบ การเป็ นประจักษ์พยานและคำพูดท่สี ามารถให้
แสงสว่างและความหวัง ก็จะได้รับความสนใจเป็ นพิเศษ
นักอบรมแห่งอนาคตต้องเป็ นผู้ท่รี ู้จักใช้สาสน์และมุมมองหลากหลาย
เพ่อื เลือกสรรคุณค่าและมาตรฐานท่จี ะช่วยเอ้ อื ให้ผู้รับการอบรมสามารถ
พัฒนาได้อย่างต่อเน่อื ง ในการอบรมสู่คุณค่าน่เี องท่ผี ู้อบรมต้องเปิ ดโอกาส
ให้ผู้รับการอบรมร่วมมีบทบาทในกระบวนการการอบรมด้วย แทนท่จี ะ
เรยี กร้องใหพ้ วกเขาอ่อนน้อมเช่อื ฟั งอย่างเดียว
เม่อื ต้องเรยี กร้องก็ต้องเรียกร้องด้วยความเด็ดขาด กระน้นั ก็ดี อย่า
พอใจแค่การตอบสนองแบบเห็นทันตา ซึ่งจะทำให้ผู้รบั การอบรมมีวิสัย
ทัศน์คับแคบและพึงพอใจอยู่แค่น้นั
ในเวลาเดียวกัน การท่ผี ู้รับการอบรมร่วมรับผิดชอบในการอบรมด้วย
ก็จะเป็ นการช่วยพวกเขาให้พัฒนาตนได้ดีข้นึ ผู้รับการอบรมต้องนำส่งิ ท่ไี ด้
รับจากการอบรมมาทำให้เป็ นของตนเองและหาข้อสรุปสำหรบั ตนท้งั โดย
ทางประสบการณ์และการไตร่ตรอง ในกระบวนการอบรมน้นั เม่อื ใดท่ี
เยาวชนกลายเป็ นผู้มีบทบาทมากกว่าจะเป็ นฝ่ ายรับอย่างเดียว เม่อื น้นั เขา
ก็จะสำนึกในส่งิ ท่เี ขาได้รับในการอบรมและเขาจะรักษามันไว้ตลอดชีวิตด้วย
ความหวงแหน

5 Pages 41-50

▲back to top

5.1 Page 41

▲back to top
แล้วน้นั ก็มีองค์ประกอบสำคัญของรูปแบบของการส่อื สาร นนั่ คือ
สถานการณ์แวดล้อม ปั จจุบันน้มี ีการให้ความสำคัญแก่ส่งิ ท่เี รียกว่า “พ้ นื ท่ี
ชีวิต” ควบคู่ไปกับสถาบันการอบรม สถาบันการอบรมทำการอบรมผ่าน
ทางโครงสร้าง โปรแกรม บทบาท กฎวินัย แต่ก็ยังไม่สามารถตอบสนอง
ความต้องการความหมายและความสัมพันธ์ท่เี ยาวชนเรียกร้องได้ ในขณะ
ท่ี “พ้ นื ท่ชี ีวิต” เอ้ อื ให้มีความรู้สึกเป็ นธรรมชาติ มุ่งความสนใจไปในทุกส่งิ
ท่ดี ีง าม การแบ่ง ปั น อย ่าง อ ิส ร ะ ม ิตร ภา พ กา ร ย อ ม ร ับ กัน แล ะ ก ัน
อุดมการณ์ ภาษาสัญลักษณ์ โครงการ ฯลฯ เราจึงได้แต่หวังว่าครอบครัว
หมู่คณะคริสตชน กลุ่มต่างๆ อีกท้งั สถานท่เี ยาวชนมาชุมนุมกันและ
โรงเรียนจะมีลักษณะของ “พ้ นื ท่ชี ีวิต” ได้ในท่สี ุด
เม่อื พูดกับสมาชิกแห่งครอบครัวซาเลเซียน พ่อมักจะพูดว่าคุณพ่อ
บอสโกได้สร้างระบบการส่อื สารแบบครบวงจร อาทิ ในศูนย์เยาวชนมี
บรรยากาศเป็ นธรรมชาติและการแสดงออกอย่างเป็ นอิสระ ท่ซี ึ่งแต่ละคนมี
บทบาทท่ชี ัดเจนและมีความสัมพันธ์กันแบบไม่เป็ นทางการ มีโปรแกรม
สำหรับทุกคน พร้อมกับเปิ ดโอกาสสำหรับการสร้างสรรค์ ท้งั ในระดับบุคคล
และในระดับกลุ่ม
ในศูนย์เยาวชนแห่งแรกท่บี ้านปี นาร์ดี เราเห็นได้ถึงแนวความคิดพ้ นื
ฐานบางอย่างท่คี ุณพ่อบอสโกเล็งเห็น ซึ่งภายหลังมีความหมายท่ลี ึกซ้งึ ใน
ระดับมนุษย์และในระดับคริสตชน อาทิ

5.2 Page 42

▲back to top
- โครงสร้างยืดหยุ่นได้ ซึ่งเช่อื มโยงพระศาสนจักร สังคมเมืองและ
ลูกๆ ของชาวบ้านเข้าด้วยกัน เป็ นเหมือนกับ “สะพาน”
- ความเคารพและการเห็นในคุณค่าของชนช้นั กรรมกร
- ศาสนาเป็ นพ้ นื ฐานของการอบรมตามหลักคำสอนคาทอลิกซึ่งส่ง
ทอดมาถึงคุณพ่อบอสโกผ่านทางบรรยากาศของวิทยาลัยสงฆ์
(Convitto)
- ความเก่ยี วโยงลึกซ้งึ ระหว่างการอบรมด้านศาสนาและการพัฒนา
มนุษย์ ระหว่างคำสอนและการอบรม ในเวลาเดียวกันก็เป็ นการ
ผสมผสานระหว่างการอบรมและ
การอบรมสู่ความเช่อื ความสอด คล้องระหว่างความเช่อื และชีวิต
- ความตระหนักท่วี ่าการสอนเป็ นวิธีเพ่อื จุดประกายให้แก่จิตใจ
- การอบรม เช่นเดียวกับการสอนคำสอน ท่ชี ่วยพัฒนาในทุกด้าน
ด้วยขีดจำกัดของเวลาและทรพั ยากรท่มี ี
การสอนอ่านสอนเขียน สำหรบั ผู้ท่ไี ม่เคยมีโอกาสเข้าโรงเรียน การ
หางานสำหรับบางคนมีติดตามพวก
เขาตลอดสัปดาห์ จัดกิจกรรมสำหรับกลุ่มและให้การ ดูแลกันและ
กัน...
- การใช้และการเห็นในคุณค่าของเวลาว่าง

5.3 Page 43

▲back to top
- ความรักใจดีซึ่งเป็ นรูปแบบการอบรมโดยทวั่ ไปและเป็ นรูปแบบ
ของการดำเนินชีวิตเย่ยี งคริสตชน
เม่อื มองในแง่น้ี ศูนย์เยาวชนเป็ น “สูตร” ท่เี รายังคงนำมาประยุกต์
ใช้ได้ในทุกสถานการณ์และในทุกโครงการสร้างของการอบรม
2.5.2. มารณรงค์ “พลเมืองซ่อื สัตย”์ กันใหม่
การคำนึงถึง คุณภาพทางสังคมของการอบรม มีอยู่แล้วต้งั แต่สมัยคุณ
พ่อบอสโก แม้จะยังไม่มีการนำไปประยุกต์ใช้เท่าท่ีควร จึงน่าจะเป็ นแรง
จูงใจให้เราสร้างประสบการณ์แห่งการอุทิศตนเพ่อื สังคมในความหมายท่ี
กว้างออกไป ซงึ่ จำเป็ นต้องมีการไตร่ตรองให้ลึกซ้งึ ท้งั ในระดับทฤษฎีโดย
เน้นเน้ อื หามนุษย์ เยาวชน การพัฒนาประชาชน พรอ้ มกับนำหลักการด้าน
มนุษยวิทยา เทววทิ ยา วิทยาศาสตร์ ประวัติศาสตร์มาเป็ นองค์ประกอบ ท้งั
ในระดับประสบการณ์และการไตร่ตรองระดับส่วนตัวและระดับหมู่คณะด้วย
ในบรบิ ทซาเลเซียน สมัชชาคร้งั ท่ี 23 ได้มีการกล่าวถึง “มิติสงั คมแห่ง
ความรัก” และ “การอบรมเยาวชนไปสู่การอุทิศตนและการมีส่วนร่วมใน
ชีวิตสังคม” “ซงึ่ เป็ นแผนกท่เี รามักจะมองข้ามหรือถือว่าไม่เก่ยี วกับเรา” 8
บทบาทการอบรมในชีวิตสังคมน้นั รวมไปถึงความสำนึกแห่งการอบรม
นโยบายการอบรม คุณภาพการอบรมชีวิตในสังคม ในวัฒนธรรมด้วย

5.4 Page 44

▲back to top
ใครก็ตามท่เี ก่ยี วข้องการอบรมมักจะพยายามสร้างอิทธิพลผ่านทาง
ระบบการเมือง เพ่อื จะได้เข้าไปมีบทบาทในพ้ นื ท่ตี ่างๆ ต้งั แต่ในด้านพัฒนา
เมือง การท่องเท่ยี ว การกีฬา ไปถึงระบบการส่อื สารวิทยุ-โทรทัศน์ ซึ่ง
มาตรฐานการตลาดจะเป็ นตัวกำหนดเสียส่วนใหญ่
นอกน้นั ยังมีแง่ของการอบรมและนโยบายด้านเยาวชน มีความต่นื ตัว
ด้านความสนใจและการต่อสู้เพ่อื ไม่ให้ปั ญหาเร่งด่วนตกไปอยู่ลำดับรองๆ
รวมไปถึงแง่การป้ องกัน คุณภาพของระบบการอบรมแบบสอดประสาน
ความหลากหลายของโอกาสการศึกษาอบรมตามความจำเป็ นของแต่ละ
บุคคล ความเสมอภาคด้านเศรษฐกิจ การเปิ ดโอกาสให้คนท่ตี กขอบ
กระบวนการศึกษาอบรม เป็ นต้น
ในเวลาเดียวกัน รูปแบบชีวิตสังคมและการเมืองก่อให้เกิดบทเรียน
ประจำวันท่นี ่าสนใจมากซึ่งผู้ใหญ่และเยาวชนสามารถเรียนรู้ได้ตลอด เรา
อาจจะพูดได้ว่าคงไม่มีประโยชน์อันใดท่สี ถาบันการศึกษาอบรมจะสอนให้
นักศึกษาถือกฎหมายถ้าในสังคมมีการใช้มาตรฐานแห่งมโนธรรมแบบ
หลวมๆ เพราะมาตรฐานดังกล่าวสร้างความตระหนักใจและร ูปแบบ
พฤติกรรมให้เสร็จสรรพ จึงยากท่จี ะส่งเสริมความสำนึกในความยุติธรรม
ถ้าผู้บริหารบ้านเมืองเอาแต่ฉ้อราษฎร์บังหลวงและใช้ความประนีประนอม
เป็ นนโยบาย ยากท่จี ะ

5.5 Page 45

▲back to top
สอนความเคารพต่อบุคคลถ้าการอภิปรายเต็มด้วยความระแวง หลอกลวง
และทะเลาะกันเป็ นประจำ การอบรม ชีวิตสังคมและการเมืองแทบจะเป็ น
อันหนึ่งอันเดียวกัน และหากจะปรับปรุงอย่างใดอย่างหนึ่งก็ต้องออกแรง
ปรับปรุงอย่างอ่นื ๆ ด้วย
สุดท้าย จากมุมมองของการอบรม นอกจากการดำเนินชีวิตอยู่ด้วย
กันในสังคมและการเมืองแล้วยังมีเร่อื งของวัฒนธรรมด้วย วัฒนธรรมให้
แรงบันดาลใจและส่อื ความหมายให้ทุกอย่างและแทรกซึมเข้าไปในความ
นึกคิดจิตใจอย่างเงียบๆ อีกท้งั ก่อให้เกิดรูปแบบชีวิตข้นึ มาด้วย ดังน้นั
เพ่อื จะกำหนดให้ส่งิ ใดส่งิ หนึ่งเป็ นคุณค่า การริเร่มิ อย่างเดียวยังไม่พอ แม้
จะมีการริเร่มิ จำนวนมาก มีท้งั คนท่ไี ด้รับแรงบันดาลใจและมีใจกว้าง แต่ยัง
ต้องมีความนึกคิดร่วมกันเพ่อื ยึดเหน่ยี วและนำไปสู่วุฒิภาวะ อันท่จี ริง
วัฒนธรรมไม่เพียงแต่จะเก่ยี วข้องกับเจตนาและข้อเสนอแนะของบุคคล
เท่าน้นั แต่เก่ยี วข้องกับการจัดพลังท่หี มู่คณะมีอยู่ให้เป็ นระบบและสมเหตุ
สมผลด้วย บางคร้งั ก็ยังคงมีความขัดแย้งระหว่างการกระท ำของ
ปั จเจกบุคคลกับทัศนคติของส่วนรวม ระหว่างการริเร่มิ ของบุคคลกับการก
ระทำของส่วนรวม ระหว่างการปฏิบัติและพ้ นื ฐานของการปฏิบัติ เลยทำให้
ความใฝ่ ฝั นของแต่ละบุคคลเป็ นคนละอย่างกับประสบการณ์ประจำวันท่เี ขา
ต้องจำยอม
2.5.3. มารณรงค์ “คริสตชนดี” กันใหม

5.6 Page 46

▲back to top
คุณพ่อบอสโกซึ่งเต็มด้วยความร้อนรนต่อวิญญาณ ได้เข้าใจถึงความ
กำกวมและอันตรายของสถานการณ์สังคมในสมัยของท่าน จึงได้ตอบรับ
การท้าทายและพบวิธีการใหม่เพ่อื ต่อต้านความชวั่ ตามท่สี ภาพของ
วัฒนธรรมและเศรษฐกิจจะอำนวยให้
เราจะสร้าง “คริสตชนท่ดี ี” แบบคุณพ่อบอสโกได้อย่างไร? ทุกวันน้ี
เราจะรักษาองค์ประกอบมนุษย์และคริสตชนของโครงการริเร่มิ ท่เี คยมี
ประสิทธิผลในเชิงศาสนาและอภิบาลให้พ้นจากอันตรายแบบเก่าและใหม่
ของศาสนนิยม (fundamentalism)ได้อย่างไร? เราจะเปล่ยี นการอบรมด้าน
ศาสนาในรูปแบบท่เี คยทำมาเป็ นประเพณีให้เป็ นการอบรมเพ่อื ดำเนินชีวิต
แห่งอัตลักษณ์ของแต่ละคนในบริบทศาสนา วัฒนธรรมและชาติพันธุ์ท่ี
หลากหลายได้อย่างไร? ในขณะท่วี ิธีการอบรมแบบใช้ความนบนอบอิงคำ
สอนของศาสนาเป็ นหลักกำลังจะผ่านพ้นไป เราจะใช้วิธีการอบรมไปสู่
อสิ รภาพและความรับผิดชอบของบุคคล โดยมุ่งไปสู่การสร้างนิสัยท่เี ข้ม
แขง็ ท่เี อ้ อื ให้สามารถตัดสินได้อย่างอิสระและมีวุฒิภาวะ เปิ ดสู่การเสวนา มี
บทบาทในสังคมโดยไม่คิดแค่ทำตัวให้สอดคล้องกับคนอ่นื แต่มีจุดยืนของ
ตนเองได้อย่างไร?
น่คี ือการค้นพบกระแสเรียกมนุษย์และการช่วยมนุษย์ให้ดำเนินชีวิตใน
ความเป็ นตัวตนอย่างแท้จริงอย่างสร้างสรรค์ ซงึ่ คริสตชนสามารถช่วยได้
อย่างมีคุณค่า

5.7 Page 47

▲back to top
อันท่จี ริง คริสตชนรู้ว่ามนุษย์และความสัมพันธ์ตัวต่อตัวเป็ นตัวบ่ง
บอกธรรมชาติของมนุษย์ ซงึ่ ไม่หมายถึงความต่ำต้อยหรือการต้องพึ่งพา
ใคร หากแต่ช้ใี ห้เห็นความรักท่ใี ห้เปล่าๆ และสร้างสรรค์ของพระเจ้า ความ
เป็ นอยขู่ องมนุษย์เป็ นของขวัญจากพระเจ้า มนุษย์มีความสัมพันธ์กับ
พระเจ้าและต้องคอยตอบรับการเรียกของพระเจ้า เม่อื ใดก็ตามท่อี อกนอก
ความสัมพันธ์น้ี ชีวิตมนุษย์ก็ไร้ความหมาย ผ ู้ท่มี นุษย์สำนึกถึงและ
ปรารถนาโดยไม่รู้ตัวคือพระผู้สูงสุด ซึ่งไม่ได้แตกต่างจากเขาหรือเป็ นแค่
อะไรท่ลี อยๆ แต่เป็ นแหล่งท่มี าแห่งชีวิต และทรงเรียกเขาไปพบพระองค์
ในพระคริสตเจ้า มนุษย์พบความหมาย พระคริสตเจ้าผู้ทรงสำนึกใน
ความเป็ นพระบุตรพระเจ้า และแสดงออกมาด้วยคำพูดและรูปแบบชีวิต
พระ-มนุษย์ของพระองค์ ทรงช่วยให้มนุษย์เข้าใจตนเองและเป้ าหมายชีวิต
ได้อย่างแท้จริง
เราได้รับการสถาปนาให้เป็ นบุตรพระเจ้าในพระคริสตเจ้าและได้รับ
เรยี กให้ดำเนินชีวิตแห่งบุตรพระเจ้าในช่วงเวลาแห่งประวัติศาสตร์ น่คี ือ
ความจริงและเป็ นของขวัญอย่างหนึ่งท่มี ีความหมายมากซึ่งมนุษย์ต้อง
เข้าใจให้ได้ กระแสเรียกแห่งการเป็ นบุตรพระเจ้าไม่ใช่ความหรูหราท่เี พ่มิ
เติมมาให้ หากแต่เป็ นส่วนหนึ่งแห่งความเต็มเปี่ ยมของมนุษย์ เป็ นเง่อื นไข
ท่ขี าดไม่ได้เพ่อื จะบรรลุถึงความจริงแท้และความเต็มเปี่ ยม เป็ นการทำให้
ความต้องการพ้ นื ฐานท่สี ุดของมนุษย์ได้รับการตอบสนองอย่างน่าพอใจ
เป็ นองค์ประกอบสำคัญแห่งการเป็ นส่งิ สร้างของพระเจ้า

5.8 Page 48

▲back to top
ผทู้ ่ใี ห้การอบรม -พ่อแม่ เพ่อื น ผู้นำเยาวชน- ต่างก็สำนึกว่าตนต้อง
เป็ นประจักษ์พยานและเป็ นเพ่อื นผู้เผยความเป็ นไปได้ต่างๆ ของชีวิตให้
แก่ผู้รับการอบรมโดยโยงความสำนึกน้ีไปถึงแหล่งท่มี าและเป้ าหมายของ
ชีวิตซึ่งช่วยให้ชีวิตเติบโต เหนือส่งิ อ่นื ใด ต้องจัดหาผ ู้ท่รี ับการอบรม
สามารถพูดคุยด้วย ในเวลาเดียวกันก็เป็ นประจักษ์พยานแห่งการประทับ
อยู่ของพระเจ้า
ในเยาวชนแต่ละคนมีการเสวนาท่เี ร้นลับกับคนหรือส่งิ ใดส่งิ หนงึ่ ท่มี า
ถึงเขา อาจจะมาจากภายนอกหรือจากภายในของพวกเขา ซึ่งเขาเห็นว่า
เป็ นการเรียกร้อง เป็ นพระหรรษทาน หรือเป็ นคำอธิบายอย่างหนึ่ง และ
เช่นน้ี ทีละเล็กทีละน้อย พวกเขาก็จะเข้าถึงความรู้สึกของตนเอง สามารถ
สร้างภาพลักษณ์ของชีวิตตนโดยท่พี วกเขาต้องทุ่มเทพลังท้งั หมดท่มี ีและ
เล่นบทบาทของพวกเขาอย่างเต็มท่ี
ผอู้ บรม ไม่ว่าจะเชิงอาชีพหรือไม่ก็ตาม ได้รับเรียกให้เสนอส่งิ ท่พี วก
เขาเห็นว่าดีท่สี ุดและดำเนินชีวิตด้วยความหวังแห่งอนาคต รวมท้งั ตัวแปรท่ี
ยังไม่อาจจะรู้ได้ พวกเขาต้องสนใจในบุคคลท่กี ำลังเติบโตท่ามกลางความ
ไม่แน่นอน อันท่จี ริง พระเจ้าทรงประสงค์ให้แต่ละบุคคลมองเห็นพระองค์
ในตัวตนเอง และในกระบวนการแห่งการเติบโตพระองค์ก็ทรงแสดงองค์
ด้วยความชัดเจนมากข้นึ ถ้าทุกอย่างเป็ นไปด้วยดี พวกเขาจะสามารถมี
บทบาทในประวัติศาสตร์ในฐานะผู้ท่ี “มาจากพระเจ้า” ผู้ท่รี ู้ตัวว่ามีความ

5.9 Page 49

▲back to top
สัมพันธ์ฉันลูกกับพระเจ้า แล้วพระองค์จะทรงทำให้เขาเป็ นเคร่อื งหมาย
ทรงชีวิตแห่งการประทับอยู่ของพระองค์
3. ส่งเสริมสิทธิมนุษยชน โดยเฉพาะอย่างยิ่งของ
เยาวชน
เราเป็ นทายาทและผู้รักษาพระพรพิเศษแห่งการอบรมท่มี ุ่งไปสู่การส่ง
เสริม วัฒนธรรมแห่งชีวิต และสง่ เสริมโครงสร้างที่กำลังเปลี่ยนแปลง ด้วย
เหตุน้เี อง เรามีหน้าท่สี ง่ เสริมสิทธิมนุษยชน ประวัติศาสตร์ครอบครัวซาเล
เซยี นและการแผ่ขยายอันรวดเร็วแม้กระทงั่ ในบริบทวัฒนธรรมและศาสนา
ท่ตี ่างไปจากท่เี ราถือกำเนิดมาเป็ นประจักษ์พยานให้เห็นว่าระบบการ
ป้ องกันของคุณพอ่ บอสโกยังสามารถเอ้ อื การอบรมเยาวชนในทุกบริบทและ
สามารถเป็ นเวทีเพ่อื การเสวนาของวัฒนธรรมใหม่แห่งสิทธิและความเป็ น
น้ำหนึ่งใจเดียวกันกับผู้อ่นื ความจริงท่วี ่าแต่ละบุคคลมีศักดิศ์ รีและสิทธิ
เท่าเทยี มกันคือเหตุผลสนับสนุนใหพ้ ระศาสนาจักรให้ความสำคัญและทุ่มเท
เพ่อื คนจน
ในบรบิ ทน้เี อง เราพึงนำคำแนะนำของคุณพ่อบอสโกแก่ธรรมทูตแรก
มาอ่านและนำมาประยุกต์ใช้ในปั จจุบัน “จงให้ความเอาใจใส่คนป่ วย
เยาวชน คนแก่และคนจนเป็ นพิเศษ แล้วพวกท่านจะรับพระพรจากพระเจ้า

5.10 Page 50

▲back to top
และความมีน้ำใจของมนุษย์”9 สำหรับซาเลเซียน การอบรมสิทธิมนุษยชน
โดยเฉพาะสทิ ธิของเยาวชน เป็ นหนทางดีท่สี ุดท่จี ะปฏิบัติระบบการป้ องกัน
ได้ในบริบทท่แี ตกต่างกัน ในเวลาเดียวกันก็จะเป็ นการส่งเสริมการพัฒนา
มนุษย์อย่างครบองค์ สร้างโลกท่มี ีความเท่าเทียม ชอบธรรม และน่าอยู่มาก
ข้นึ สิทธิมนุษยชนจะเป็ นภาษาเพ่อื การพูดคุยเก่ยี วกับวิธีการอบรมของเรา
และนำการอบรมน้เี ข้าสู่วัฒนธรรมต่างๆ ในโลก
3.1. สิทธิมนษุ ยชนและศักดิศ์ รบี ุคคล
สิทธิมนุษยชนคือสิทธิของทุกบุคคลในฐานะท่เี ป็ นมนุษย์ โดยไม่คำนึง
ถึงเช้ อื ชาติ ศาสนา ภาษา สถานท่เี กิด วัยและเพศ เป็ นสิทธิพ้ นื ฐาน สากล
ซงึ่ จะฝ่ าฝื นและขาดไม่ได้ สิทธิน้ไี ม่มีการจารึกในแผ่นหินจึงมีวิวัฒนาการ
อย่างต่อเน่อื ง สิทธิพลเมืองและการเมืองย้อนกลับไปสมัยการปฏิวัติของ
ฝรงั่ เศส (1789) การเรียกร้องอิสรภาพพ้ นื ฐานท่ปี ระชาชนส่วนมากยังไม่มี
อาทิ สิทธิในชีวิต ความเคารพต่อร่างกาย อสิ รภาพทางความคิด การ
แสดงออก การเข้าสมาคม การมีส่วนร่วมในการเมือง นอกน้นั ยงั มีการ
ประกาศสิทธิในด้านเศรษฐกิจ สังคมและวัฒนธรรมในปี 1948 อาทิ สิทธิ
การศึกษา การทำงาน บ้านเรือนท่อี ยู่อาศัย สุขภาพอนามัย เป็ นต้น แล้ว
น้นั ก็มีสิทธิของประชาชนในการกำหนดชีวิตของตนเอง มีสันติภาพ การ
พัฒนา ความมนั่ คงของระบบนิเวศ ควบคุมทรัพยากรของชาติ ปกป้ อง
สภาพแวดล้อม เป็ นต้น ท่สี ุดก็ยังมีสิทธิท่เี ก่ยี วโยงกับความเคารพต่อ

6 Pages 51-60

▲back to top

6.1 Page 51

▲back to top
บุคคลท่สี ัมพันธ์กับการวางแผนครอบครัว ด้านจริยศาสตร์ชีวะและเทคนิค
การส่อื สารสมัยใหม่
เราต้องยอมรับว่าความเคารพต่อสิทธิมนุษยชนเป็ นความรับผิดชอบ
แรกของเรา น่าเสียดายว่าการละเมิดสิทธิมนุษยชนกลายเป็ นเร่อื งธรรมดา
แห่งชีวิตประจำวันไปเสียแล้ว และวิธีการป้ องกันการละเมิดท่ใี ช้กันอยู่ก็ยัง
ไม่เพียงพอท่จี ะขจัดการละเมิดดังกล่าว ในสถานการณ์เช่นน้เี ราจึงต้องทำ
ทุกอย่างเพ่อื ให้มีความเคารพต่อศักดิศ์ รีมนุษย์
คำสอนของพระศาสนจักรยืนยันว่าการตีความและการปกป้ องสิทธิ
มนุษยชนอย่างถูกต้องข้นึ อยู่กับความเข้าใจเก่ยี วกับมานุษยวิทยาซึ่งคำนึง
ถึงมิติต่างๆ แห่งการเสริมสร้างบุคคล อันท่จี ริง สิทธิมนุษยชนทุกอย่าง
ต้องสอดคล้องกับศักดิศ์ รีของแต่ละบุคคล จึงต้องตอบสนองความต้องการ
พ้ นื ฐาน การใช้อิสรภาพ ความสัมพันธ์กับผู้อ่นื และกับพระเจ้า จึงต้องเป็ น
สากล ท่พี บเห็นได้มนุษย์แต่ละคนและทุกคน ชายและหญิง เด็กและคน
ชรา คนรวยและคนจน คนสบายดีและคนป่ วย
3.2. ภารกิจซาเลเซียนและสิทธิของเด็ก
ในการปราศรัยท่ี Campidoglio ในกรุงโรม เม่อื วันท่ี 27 พฤศจิกายน
2002 ในหัวเร่อื ง “กอ่ นท่จี ะสายไป ใหเ้ ราช่วยเยาวชนผู้เป็ นอนาคตของ
โลก” พ่อพยายามเสนอระบบป้ องกันจากมุมมองของการส่งเสริมเด็กชาย

6.2 Page 52

▲back to top
และเด็กหญิงแต่ละคนให้ได้รับการอบรมและได้รับการกอบกู้ในทุกด้านจาก
มุมมองของคริสตศาสนาโดยเฉพาะการเปล่ยี นสังคมให้ดีข้นึ เพ่อื จะได้ไม่มี
เด็กคนใดตกขอบสังคม เหนืออ่นื ใด พ่อเสนอระบบป้ องกันในแง่ของ
ความสำนึกในความรับผิดชอบของผู้รับการอบรมท่จี ะเปล่ยี นจากผู้ได้รับ
การปกป้ องไปสู่ผู้รับผิดชอบสิทธิท่ตี นมี พร้อมกันน้นั ก็สำนึกในสิทธิของผู้
อ่นื เป็ นการเตรียมตัวเพ่อื จะเป็ นพลเมืองในอนาคต กล่าวคือ พลเมืองท่ี
ซ่อื สัตย์และคริสตชนท่ดี ี พ่อขอนำบางสว่ นของคำปราศรัยมาแบ่งปั นกับ
พวกท่าน ณ ท่นี ้ี
“สถานการณ์เยาวชนในภาคพ้ นื ต่างๆ ของโลกน่าเป็ นห่วงมาก
เยาวชนจำนวนมากเส่ยี งกับการตกขอบสังคม เสียงร้องของพวกเขาไม่มี
ใครสนใจ เป็ นเสียงร้องไปถึงมโนธรรมของสงั คมท่แี สวงหาโลกาภิวัตน์ด้าน
เศรษฐกิจ แต่ไม่ทำอะไรเพ่อื พัฒนาประชาชนและส่งเสริมศักดิศ์ รีของมนุษย์
แต่ละคน
น่คี ือการท้าทายทุกวันน้ี เยาวชนท่ตี กขอบสังคมและการแสวงผล
ประโยชน์จากเยาวชนทวั่ โลก
วยั รุ่นท่เี ร่ร่อนอยู่ตามถนนและรวมตัวกันเป็ นก๊กเป็ นเหล่า
วยั รุ่นท่ถี ูกเกณฑ์เป็ นทหาร
วยั รุ่นท่ถี ูกทำทารุณกรรม
วยั รุ่นท่เี ป็ นทาสแรงงาน
วยั รุ่นท่ี "ไม่เป็ นใครสักคน"

6.3 Page 53

▲back to top
วยั รุ่นท่อี ยู่ในคุก
วยั รุ่นท่ถี ูกบังคับให้บริจาคอวัยวะและพิการ
วยั รุ่นท่ยี ากจนและตกขอบสังคม
วยั รุ่นท่อี าศัยอยู่ตามท่อระบายน้ำเสีย กินอยู่ตามถนน
วยั รุ่นท่ปี ่ วย
วยั รุ่นท่อี พยพและเป็ นกำพร้า
เยาวชนท่ี...
สถานการณ์น่าสมเพชต้องกระตุ้นความสำนึกของทุกคน ในตอนท้าย
ของสมัชชาคณะซาเลเซียนคร้งั ท่ี 25 เราได้ส่งคำขอร้องไปยังทุกคนท่มี ีหน้า
ท่รี บั ผิดชอบเยาวชนว่า “ก่อนท่จี ะสายเกินไป ให้เราช่วยเยาวชนซึ่งเป็ น
อนาคตของโลกไว้” และน่คี ือคำขอร้องของพ่อในฐานะผู้สืบตำแหน่งคุณพ่อ
บอสโก
ต่อหน้าสถานการณ์น่าเศร้าของความทุกข์ยากลำบากของเยาวชน เรา
ซาเลเซียน ‘ยืนหยัดอยู่เคียงข้างเยาวชน เพราะเราเช่อื มนั่ ในพวกเขา ใน
น้ำใจดี ในการศึกษา ในการพยายามหนีความยากจน ในการกำอนาคตไว้ใน
มือของพวกเขา ดังท่คี ุณพ่อบอสโกเคยเช่อื มนั่ ในพวกเขา...เราอยู่เคียงข้าง
เยาวชนเพราะเราเช่อื ถึงคุณค่าของพวกเขาแต่ละคน เช่อื ในความรับผิด
ชอบท่จี ะสร้างโลกอีกแบบหนึ่งและเหนอื อ่นื ใด เช่อื ในคุณค่าของการ
อบรม’10 ให้เราลงทุนทุกอย่างในงานเพ่อื เยาวชน

6.4 Page 54

▲back to top
ให้เราทุ่มเทการอบรมของเราในระดับโลก ด้วยการทำเช่นน้เี ราจะ
สามารถเตรียมอนาคตท่ดี ีให้แก่โลกได้ ครอบครัวซาเลเซียนจึงนำความ
มงั่ คงั่ แหง่ ระบบการอบรมท่เี ราได้รับเป็ นมรดกจากคุณพ่อบอสโกมาใช้เพ่อื
การน้ี นนั่ คือ ระบบการอบรมแบบป้ องกัน
ระบบป้ องกันน้เี ป็ นระบบท่คี ำนึงถึงการป้ องกันความชวั่ ด้วยการ
ให้การอบรม ทว่า ในเวลาเดียวกันก็คำนึงถึงการช่วยเยาวชนให้สร้างบุคลิก
ของตนเองข้นึ มา เป็ นการให้ชีวิตใหม่แก่คุณค่าท่พี วกเขาไม่เคยได้รับและ
นำมาพัฒนาเน่อื งจากต้องอยู่นอกขอบสังคม อีกท้งั ค้นพบแรงบันดาลใจใน
การดำเนินชีวิตท่มี ีความหมายด้วยความยินดี ด้วยความรับผิดชอบและด้วย
ความชำนาญ
นอกน้นั ระบบป้ องกันเช่อื มนั่ ว่ามิติศาสนาของบุคคลคือคุณภาพท่ี
ประเสริฐและมีความหมายอย่างย่งิ ดังน้นั เป้ าหมายท้งั หมดของระบบน้ี
คือช้นี ำเยาวชนแต่ละคนให้รู้ถึงกระแสเรียกแห่งการเป็ นบุตรของพระ พ่อ
คิดว่าน่คี ือส่งิ ท่ที ำให้ระบบป้ องกันของคุณพ่อบอสโกสามารถครอบคลุมการ
อบรมเยาวชนทุกวัยท่ยี ากจนและรับอันตรายในด้านจิตวิทยาและสังคม
ต้งั แต่วัยเด็กไปจนถึงวัยหนุ่มสาว
น่คี ือประสบการณ์ท่มี ีความหมายมากของการร่วมกันสร้าง “พลเมือง
ท่ซี ่อื สัตย์และคริสตชนท่ดี ี” นนั่ คือ ผู้สร้างสรรค์เมือง ผู้มีบทบาทและรับผิด
ชอบ ผู้สำนึกในศักดิศ์ รีของตนโดยมีแผนการสำหรับชีวิต เปิ ดสู่มิติ

6.5 Page 55

▲back to top
เหนือธรรมชาติ เปิ ดสู่ผู้อ่นื และเปิ ดสู่พระเจ้า”
3.3. เสนอความคิดเดยี วกันในภาษาแห่งสิทธิมนุษย
ชน
รายการละเมิดสิทธิมนุษยชนท่พี ่อกล่าวถึงข้างต้น ทำให้เราเห็นได้
ชัดเจนว่า ทุกวันน้ใี นการอบรม เราต้องอุทิศตนเพ่อื สง่ เสริมสิทธิและ
ศักดิศ์ รีมนุษยชนเป็ นหลัก
ก่อนอ่นื พงึ สังเกตว่าหัวเร่อื งการอบรมสิทธิและศักดิศ์ รีพ้ นื ฐานของ
มนุษย์น้นั เก่ยี วโยงกับคำขวัญสองอันก่อนท่เี น้นความสำคัญของบทบาท
ครอบครัวในการอบรมและการส่งเสริมสิทธิมนุษยชน อีกท้งั การปกป้ อง
และส่งเสริมชีวิตเป็ นอันดับแรก
ในแง่น้ี การอบรมต้องมีเป้ าหมายอยู่ท่กี ารสร้าง วัฒนธรรมแห่งสิทธิ
มนุษยชน ท่สี ามารถนำมาพูดคุย โน้มน้าวและปกป้ องการละเมิดสิทธิ
มนุษยชน แทนท่จี ะเน้นแค่มาตรการลงโทษหรือปราบปราม จึงต้องเลย
จากการประณามการละเมิดท่ผี ่านมาไปสู่การป้ องกันไม่ให้เกิดการละเมิดข้นึ
อีก

6.6 Page 56

▲back to top
ในแง่น้ี การอบรมสิทธิมนุษยชนต้องมีหลายมิติและมีแนวการอบรม
เยาวชนให้เป็ นพลเมืองซ่อื สัตย์ มีบทบาท และรบั ผิดชอบ สามารถผสม
ผสานส่งิ ท่เี ป็ นหลักการข้อกำหนด การรู้และการเป็ น และผนึกเข้ากับความ
รู้และการอบรมบุคลิกภาพ
การอบรมสิทธิมนุษยชนเป็ นกิจกรรมซึ่งประกอบด้วยการยืนยัน
ความรับผิดชอบ การวิเคราะห์อย่างจริงจัง การรับข้อมูล การให้ความสนใจ
และความสำคัญของข้อมูลจากส่อื ต่างๆ ดังน้นั การอบรมสิทธิมนุษยชนจึง
เป็ นการอบรมท่ตี ้องต่อเน่อื งในแต่ละวัน
วิธีการท่ใี ช้เพ่อื การอบรมจำต้องมีอย่างน้อยสามมิติน้ี
- มิติความรู้ กล่าวคือ ความรู้ การคิดเชิงวิพากษ์วิจารณ์ การจับ
ประเด็น การตัดสิน ซึ่งคุณพอ่ บอสโกมักจะเรียกว่า “เหตุผล”
- มิติความรัก กล่าวคือ การออกแรง การมีประสบการณ์ การสร้าง
ความเป็ นมิตร ความเมตตา ซึ่งคุณพ่อ
บอสโกเรียกว่า “ความรักใจดี”
- มิติแห่งน้ำใจ ซึ่งนำไปสู่พฤติกรรมท่มี ีแรงบันดาลใจจากศีลธรรม
การเลือกและการทำ
ซงึ่ คุณบอสโกเรียกว่า “ศาสนา”

6.7 Page 57

▲back to top
3.4. อบรมตัวเราเองเพ่อื อบรมแต่ละบุคคลและสังคม
ท้งั ครบ : การพฒั นามนุษย์
ระบบป้ องกันและจิตตารมณ์ของคุณพ่อบอสโกเรียกร้องเราให้
ออกแรงมากข้นึ ท้งั ในแง่ปั จเจกบุคคลและแง่หมู่คณะเพ่อื มุ่งไปสู่การ
เปล่ยี นแปลงสถานการณ์ยากจนและด้อยพัฒนาโดยทำตัวเราเป็ นผู้ส่งเสริม
การพัฒนามนุษย์และผู้อบรมสู่วัฒนธรรมแห่งสิทธิมนุษยชนและศักดิศ์ รี
แห่งชีวิตมนุษย์
สิทธิมนุษยชนคือการพัฒนามนุษย์ การอบรมสิทธิมนุษยชนจึงเป็ นวิธี
การท่นี ำไปสู่การพัฒนาแต่ละคนและของทุกคน เพ่อื จะทำให้โลกมีความ
เสมอภาค ยุติธรรมและน่าอยู่มากข้นึ
เราแต่ละคน ในฐานะท่เี ป็ นนักอบรมและมีมุมมองชีวิตแบบคริสตชน
ซงึ่ เคยดลบันดาลใจคุณพ่อบอสโก ต้องปกป้ อง ส่งเสริมและมีบทบาทใน
การส่งเสริมสิทธิมนุษยชน
เพราะเหตุน้ี เราต้องเข้าใจในหลักการพ้ นื ฐานของสิทธิมนุษยชนจาก
มุมมองซาเลเซียนเพ่อื จะได้เห็นถึงการท้าทายของสิทธิมนุษยชนในยุคของ
เรา

6.8 Page 58

▲back to top
น่คี ือประเด็นท่เี ราต้องพิจารณา
- องค์รวมของบุคคลและการประยุกต์หลักของการแบ่งแยกไม่ได้และ
การพึ่งพากันในสิทธิพ้ นื ฐานของ
แต่บุคคล ท้งั ในด้านการเป็ นพลเมือง วัฒนธรรม ศาสนา เศรษฐกิจ
การเมืองและสังคม
- การอบรมให้เป็ นพลเมืองซ่อื สัตย์และการประยุกต์หลักของความรับ
ผิดชอบท่แี ตกต่างกันในการ
ส่งเสริมและปกป้ องสิทธิมนุษยชน
- หนงึ่ ต่อหนึ่ง และการใช้หลักการของความสนใจต่อเยาวชน
- เยาวชนเป็ นศูนย์กลางในฐานะผู้มีบทบาทและผู้มีส่วนร่วม อีกท้งั การ
ประยุกต์ใช้หลักแห่งการร่วม
บทบาท
- “แค่เธอเป็ นเด็กพ่อก็รักมากแล้ว” และการประยุกต์ใช้หลักการไม่
เลือกท่รี ักมักท่ชี ัง
- “พ่ออยากให้เธอมีความสุขเวลาน้แี ละเสมอไป” ซึ่งคำนึงถึงบุคคล
ท้งั ครบและการประยุกต์หลักของ
การพัฒนาองค์รวมของมนุษย์ ด้านจิตใจ ด้านสังคม ด้าน
วัฒนธรรม ด้านเศรษฐกิจ ด้านการเมือง
และด้านสังคมของเยาวชน

6.9 Page 59

▲back to top
3.5. เน้ อื หาที่คุณบอสโกใช้ในการอบรมเด็กต้องมุ่งไป
ถึง
ก. การพัฒนาบุคลิกภาพ พรสวรรค์ จิตใจและความสามารถของเด็กไป
สู่ความเต็มเปี่ ยม
ข. การพัฒนาความเคารพสิทธิมนุษยชนและอิสรภาพพ้ นื ฐาน อีกท้งั
ปฏิญญาแห่งองค์การสหประชาชาติ
ค. การพัฒนาความเคารพต่อบิดามารดา อีกท้งั อัตลักษณ์ชายหรือหญิง
ของเด็ก ภาษาและคุณค่า คุณค่า
ประจำชาติท่เี ด็กดำเนินชีวิตอยู่ คุณค่าแห่งถ่นิ ฐานบ้านเกิดเมือง
นอน คุณค่าของอารยธรรมท่แี ตกต่าง
ออกไป
ง. การเตรียมเด็กให้มีความรับผิดชอบต่อชีวิตในสังคมอิสระ ในจิตตา
รมณ์แห่งความเข้าใจกัน สันติ การ
ยอมรับกัน ความเท่าเทียมทางเพศ และมิตรภาพระหว่างประชาชน
ชาติพันธุ์ กลุ่มระดับชาติ กลุ่ม
ศาสนา อีกท้งั ท้องถ่นิ ต้นกำเนิด
จ. การพัฒนาและความเคารพต่อสภาพแวดล้อมทางธรรมชาติ

6.10 Page 60

▲back to top
ส่งิ เหล่าน้มี ีบรรจุอย ู่ในข้อท่ี 29 ของ “อนุสัญญาแห่งองค์การ
สหประชาชาติว่าด้วยสิทธิของเด็กและเยาวชน” ท่กี ารประชุมองค์การ
สหประชาชาติประกาศรับรองในวันท่ี 20 พฤศจิกายน 1989 และมี 192
ประเทศร่วมรับรอง
ส่งิ ท่ผี ู้อบรมพึงหลีกเล่ยี งคือ การถือว่าสิทธิมนุษยชนเป็ นแค่รายการ
ของแนวความคิดหรือมองว่าการอบรมด้านสิทธิมนุษยชนเป็ นแค่หลักการท่ี
นำมาใช้เพ่อื ตีความตัวบทกฎหมาย
เราเห็นด้วยกับความคิดท่กี ว้างกว่าน้นั นนั่ คือ การเรียนรู้ด้านสังคม-
พลเรือน การส่งเสริมให้มีประสบการณ์ การรับผิดชอบ และการมีส่วนร่วม
ในบทบาทและในความรับผิดชอบ
การอบรมสิทธิมนุษยชน หรือ “สทิ ธิมนุษยชนแห่งวัฒนธรรมเชิง
ป้ องกัน” ซึ่งเป็ นการป้ องกันการละเมิด หลุดลอยจากวงการแคบๆ ของ
ทนายและนักกฎหมาย เพ่อื เปิ ดไปสู่ทุกคน ท่พี ร้อมจะเปิ ดรับและสร้างการ
เสวนาระหว่างวัฒนธรรมท่มี ีพ้ นื ฐานอยู่บนสิทธิมนุษยชน
อันท่จี ริง สทิ ธิมนุษยชนไม่ใช่เป็ นเร่อื งของกฎหมายหรือเน้ อื หา
ปรัชญาศาสตร์อย่างเดียว แต่ครอบคลุมไปถึงทุกวิชา สามารถอธิบายและ
นำมาพูดคุยกันในบริบทข อ ง ว ิชาใ ดว ิชาห นึ่ง ได้ ไม่ว ่าจะ เ ป็ นว ิชา

7 Pages 61-70

▲back to top

7.1 Page 61

▲back to top
ประวัติศาสตร์ ภูมิศาสตร์ ภาษาต่างประเทศ วรรณกรรม ชีวะวิทยา ฟิ สิกส์
ดนตรี หรอื เศรษฐศาสตร์
สิทธิมนุษยชนจึงไม่ใช่วิชาหนึ่งต่างหาก แต่เป็ นหัวข้อท่สี อดประสาน
กับทุกวิชา สิทธิมนุษยชนจึงต้องเป็ นองค์ประกอบสำคัญของการอบรม
ฝึ กฝนผู้อบรมให้ทันสมัย ท้งั แบบทางการหรือไม่ทางการ เพ่อื ให้นักอบรม
พัฒนาและเสนอเหตุผลแรงจูงใจและมิติท้งั สองด้านของเน้ อื หาวิชาต่างๆ
หากเรายังเข้าใจว่าการสอนคือการท่ผี ู้สอนป้ อนข้อมูลและผู้เรียนเป็ น
ฝ่ ายรับเน้ อื หา เราก็คงจะสอนสิทธิมนุษยชนไม่ได้ สิทธิมนุษยชนไม่ใช่เป็ น
วิชาท่ใี ช้สอนหรือยัดเยียดให้ แต่ต้องอบรมด้วยการเสวนา ถกเถียงและ
การไตร่ตรองส่วนตัว
ในแง่ท่สี ิทธิมนุษยชนเป็ นเน้ อื หาวิชาหนึ่ง เราสามารถใช้ศิลปะ การ
ละคร ดนตรี การเต้นรำ การวาดเขียน บทกวี...เพ่อื ถ่ายทอดให้ผู้เรยี น
คุณพ่อบอสโกได้ประดิษฐิค์ ิดค้นวิธีการสำหรับเร่อื งน้ี
หากกระบวนการอบรมมีพ้ นื ฐานอยู่ในแรงจูงใจภายในของผู้อบรม
ระบบป้ องกันก็กลายเป็ น “ชวี ิตจิต” หากมีการเน้นเสาหลักสามอย่างแห่ง
เหตุผล ศาสนาและความรักใจดี ระบบป้ องกันก็กลายเป็ นการบำเพ็ญจิต
กรอบแหง่ คุณค่า และแผนการชีวิต หากเน้นไปท่คี วามสัมพันธ์ระหว่างผู้
อบรมและผู้รบั การอบรม ระบบป้ องกันนำไปสู่มิติแห่งการบำเพ็ญจิต หาก

7.2 Page 62

▲back to top
เน้นไปท่แี ผนการชีวิตของผู้รับการอบรม ระบบป้ องกันคือการประกาศ
ข่าวดี เน่อื งจากเป็ นการมุ่งไปสู่การเป็ นพลเมืองท่ซี ่อื สัตย์และคริสตชนท่ดี ี
ดังท่เี อกสาร “Christifideles Laici” กล่าวไว้ว่า เป็ นการดำเนินชีวิตพระว
รสารในขณะท่ที ำให้พระวรสารสามารถรับใช้คนและสังคมได้
สรุปแล้ว ระบบป้ องกันเปล่ยี นท้งั ผู้อบรมและผู้รับการอบรมให้เป็ นผู้
มีความสำนึกในความรักผิดชอบท่จี ะปกป้ องและส่งเสริมสิทธิมนุษยชนเพ่อื
การพัฒนาบุคคลและโลก
หากจะเปล่ยี นช่อื พระดำรัสของพระสันตะปาปา เปาโล ท่ี 6 “Pop-
ulorum Progressio” พ่อคิดว่าน่าจะเป็ น “การอบรมไปสู่การปกป้ องและ
ส่งเสริมสทิ ธิมนุษยชนคือช่อื ใหม่ของสันติภาพ”
การอบรมด้วยหัวใจของคุณพ่อบอสโกคือการส่งเสริมชีวิตของเยาวชน
ไปสู่ความเต็มเปี่ ยมแห่งศักยภาพ โดยเฉพาะ เยาวชนท่ยี ากจนและด้อย
โอกาสกว่าหมด การส่งเสริมสิทธิของเยาวชนจึงประกอบด้วย
ก. ร้ อื ฟ้ ื นการตัดสินใจท่ีจะร่วมมีบทบาทในหมู่คณะในสนามงานจำเพาะ
การอบรมแบบหมู่คณะซาเลเซียนเรียกร้องให้เราสร้างจิตตารมณ์แห่ง
ความเป็ นหนึ่งเดียวกันในอุดมการณ์การอบรมของคุณพ่อบอสโก โดยรู้
ว่าเราควรจะร่วมมือกับบุคคลท่เี ก่ยี วข้องกับการอบรมในสถาบันต่างๆ
พร้อมกันน้นั ก็สร้างจิตสำนึกให้พวกเขาเห็นถึงสาเหตุท่ที ำให้เยาวชนต้อง

7.3 Page 63

▲back to top
ตกขอบสังคมและถูกใช้เพ่อื ผลประโยชน์ พร้อมกันน้นั ก็ช่วยสร้างแรง
บันดาลใจสนับสนุนงานของพวกเขา อีกท้งั ให้การสร้างสรรค์เพ่อื งานด้าน
การอบรมด้วย เพ่อื ทำเช่นน้ไี ด้ ต้องจัดให้มีการอบรมสำหรับผู้อบรมอย่าง
ต่อเน่อื ง
ข. ร้ อื ฟ้ ื นวิธีการอภิบาลให้ชัดเจน
กิจการซาเลเซียน ไม่ว่าจะทำในสถานการณ์ใด ต้องมุ่งช่วยแต่ละ
บุคคลให้รอดเป็ นหลัก นนั่ คือ ช่วยให้คนรู้จักพระเจ้าและมีความสัมพันธ์
เย่ยี งบุตรกับพระองค์โดยยอมรับพระเยซูเจ้าผ่านทางศีลศักดิส์ ิทธิข์ องพระ
ศาสนจักร เม่อื ซาเลเซียนเลือกทำงานเพ่อื เยาวชนและเด็กยากจนโดยเร่มิ
ต้นจากจุดท่เี ยาวชนเป็ นและโอกาสท่พี วกเขามีเพ่อื จาริกสู่ความเช่อื ในการ
ฟ้ ื นฟูสภาพ การอบรมและการพัฒนาบุคคล เราต้องต้งั เป้ าหมายไปท่คี วาม
รอดของผู้รับการอบรม โดยเร่มิ ต้นจากแนวทางทวั่ ไปแล้วค่อยทีค่อยชัดข้นึ
สำหรับผู้ท่มี ีความพร้อม ทุกคนมีสิทธิท่จี ะรู้จักและเข้าถึงพระเยซูเจ้า จึง
ต้องมีการประกาศพระเยซูเจ้าโดยไม่มีการบังคับ ในเวลาเดียวกันก็ไม่ควร
ละเลยปล่อยให้โอกาสผ่านไปโดยไม่พูดถึงพระเยซูเจ้าให้เยาวชนรับรู้

7.4 Page 64

▲back to top
สรุป
สำหรับปี น้ี พ่อคงไม่สรุปด้วยนิทาน แต่ด้วยเร่อื งท่เี ราค่อนข้างจะคุ้น
เคย หรือจะพูดอีกนัยหนึ่งสรุปด้วย “ความฝั น” ซึ่งเป็ นจุดเร่มิ ต้นของส่งิ
ท่เี ราเป็ นและส่งิ ท่เี ราทำ “ความฝั น” ท่เี ป็ นความทรงจำและคำทำนาย โยง
ถึงอดีตและวางแผนเพ่อื อนาคต
“เม่อื ตอนอายุเก้าขวบ คุณแม่อยากจะส่งพ่อไปโรงเรียน แต่ก็เป็ น
เร่อื งไม่ง่ายนัก เพราะระยะทางจากบ้านไป Castelnuovo ไกลกว่าสามไมล์
อันโตนีโอ พ่ชี ายของพ่อไม่ยอมให้พ่อไปเป็ นเด็กประจำ ท่สี ุดก็มีการพบ
กันครึ่งทาง ในช่วงฤดูหนาวพ่อสามารถไปเรียนท่หี มู่บ้าน Capriglio ท่อี ยู่
ใกล้ๆ พ่อจึงได้เรียนวิชาพ้ นื ฐานการอ่านและการเขียน อาจารย์ของพ่อ
เป็ นพระสงฆ์ศรัทธาช่อื คุณพ่อ Joseph Delacqua คุณพ่อดูแลพ่ออย่างดี
มาก ติดตามการเรียนของพ่อ โดยเฉพาะการเรียนคำสอน ในช่วงฤดูร้อน
พ่อทำงานทุกอย่างในท้องนาตามท่พี ่ชี ายต้องการ
ความฝั น
ในวัยน้นั เองพ่อได้ฝั น และความฝั นน้ยี ังคงฝั งอยู่ในความทรงจำของ
พ่ออย่างไม่รู้เลือน ในฝั น พ่อยืนอยู่ในสนามหญ้ากว้างใกล้บ้าน มีเด็กๆ
กำลังว่งิ เล่นอยู่ บางคนหัวเราะ บางคนง่วนกับการละเล่นต่างๆ แต่ก็มี

7.5 Page 65

▲back to top
หลายคนท่กี ำลังสบถสาบาน เม่อื พ่อได้ยินคำพูดชวั่ เหล่าน้นั พ่อก็รีบ
กระโดดเข้าไปอยู่ท่ามกลางพวกเขาและหาทางห้ามท้งั ด้วยคำพูดและกำป้ั น
ทันใดน้นั มีชายท่าทางสง่างามปรากฏมา แต่งชุดดูสูงศักดิ์ สวมเส้ อื
คลุมขาว และใบหน้าเป็ นประกายจนพ่อไม่สามารถมองหน้าตรงๆ ได้ เขา
เรยี กช่อื พ่อ พร้อมกับสงั่ ให้พ่อดูแลเด็กเหล่าน้ี เสริมว่า ‘เธอต้องพยายาม
ชนะใจเด็กเหล่าน้ไี ม่ใช่ด้วยหมัด แต่ด้วยความอ่อนโยนและความรัก เร่มิ
จากการสอนให้พวกเขาเห็นถึงความน่าเกลียดของบาปและเห็นคุณค่าของ
ฤทธิก์ ุศล’ พ่อรู้สึกสับสนและตกใจกลัว จึงได้แต่พูดว่าเป็ นแค่เด็กยากจน
ไม่มีความรู้ ไม่มีทางพูดเร่อื งศาสนาให้เด็กเหล่าน้ไี ด้ ทันใดเด็กๆ ก็หยุด
หัวเราะ หยุดร้องตะโกนและหยุดสบถสาบาน พวกเขามาล้อมรอบชายผู้ท่ี
กำลังพูดอยู่
พ่อไม่รู้ว่ากำลังพูดอะไรอยู่ ได้แต่ถาม ‘ท่านเป็ นใคร? ทำไมมาสงั่ ให้
ผมทำส่งิ ท่เี ป็ นไปไม่ได้?’
‘ก็เพราะเป็ นไปไม่ได้น่ีแหละ เธอจึงต้องทำให้ได้ด้วยความนบนอบ
และด้วยการศึกษาหาความรู้’
‘แล้วผมจะหาความรู้ได้ท่ไี หน ได้อย่างไร?’

7.6 Page 66

▲back to top
‘เราจะให้ครูคนหนงึ่ ครูจะสอนเธอให้ฉลาด ถ้าไม่มีครูผู้น้ี ความฉลาด
ท้งั หมดก็เป็ นแค่ความโง่เขลา’
‘แต่ท่านเป็ นใครท่มี าพูดเช่นน้ี?’
‘เราคือบุตรของผู้ท่แี ม่ของเธอสอนให้สวดวันละสามเวลา’
‘คุณแม่สงั่ ไม่ให้ผมพูดกับคนแปลกหน้า นอกจากคนท่คี ุณแม่จะ
อนุญาตให้พูดได้ ดังน้นั กรุณาบอกช่อื ท่านด้วย’
‘จงไปถามแม่ของหนูว่าเราช่อื อะไร’
‘ทันใด พ่อเห็นสตรีงดงามผู้หนึ่งปรากฏมายืนเคียงข้างเขา เธอสวม
เส้ อื ยาวท่สี ง่ แสงแวววับเหมือนจะประดับประดาด้วยดาวเล็กใหญ่ คำถามคำ
ตอบย่งิ ทำให้พ่อสับสนมากข้นึ เธอจึงเรียกพ่อให้ไปหา จับมือของพอ่ ด้วย
ความใจดีและพูดว่า ‘ดูน่’ี พ่อหันไปมองรอบๆ ก็เห็นว่าเด็กๆ หายไป
หมด มีแต่ฝูงแกะ สุนัข แมว หมี และสัตว์อ่นื ๆมาอยู่ท่นี นั่
‘น่คี ือสนามงานท่เี ธอต้องทำ จงเป็ นคนสุภาพ เข้มแข็ง และมากด้วย
กำลังวงั ชา ส่งิ ท่จี ะเกิดข้นึ กับสัตว์เหล่าน้คี ือส่งิ ท่เี ธอต้องทำเพ่อื ลูกๆ ของ
เรา’

7.7 Page 67

▲back to top
พ่อมองไปรอบๆ แทนท่จี ะเห็นสัตว์ต่างๆ ก็เห็นฝูงแกะเช่อื ง พวกมัน
กระโดดและสง่ เสียงเหมือนให้การต้อนรับบุรุษและสตรีท่ยี ืนอยู่ท่นี นั่
เวลาน้นั เอง ในฝั นพ่อเร่มิ ร้องไห้ พ่อขอรอ้ งสตรีผู้น้นั ใหอ้ ธิบายให้พ่อ
เข้าใจเพราะพ่อไม่รู้ว่าทุกอย่างน้หี มายถึงอะไร เธอวางมือบนหัวพอ่ และ
พูดว่า “เม่อื ถึงเวลาแล้วเธอจะเข้าใจทุกอย่าง”
ทันใด มีเสียงอึกทึกทำให้พอ่ ต่นื และทุกอย่างอันตรธานไป พ่อสับสน
อย่างบอกไม่ถูก มือพ่อเจ็บเพราะการชกต่อยและใบหน้าฟกช้ำเพราะแรง
หมัด พ่อพยายามจะไม่หลับท้งั คืนเพ่อื ได้จดจำหน้าตาของบุรุษและสตรีท่ี
พ่อเห็นในฝั น อีกท้งั ทุกอย่างได้พูดและได้ยิน
พ่อรีบเล่าเร่อื งฝั นให้ทุกคนฟั ง เร่มิ จากพ่ชี ายท้งั สอง ซึ่งได้แต่หัวเราะ
ด้วยความขบขันในเร่อื งราวท่ไี ด้ยิน แล้วน้นั พ่อก็เล่าให้คุณแม่และคุณย่าฟั ง
แต่ละคนต่างก็ตีความแตกต่างกันไป โยเซฟพูดว่า “เธอจะเป็ นคนเล้ยี ง
แพะ แกะ และสัตว์ต่างๆ” คุณแม่ตีความว่า “ใครจะไปรู้ได้ เธออาจจะ
เป็ นพระสงฆ”์ ส่วนอันโตนีโอพูดตะคอก “เธอคงจะเป็ นหัวหน้าโจร
มากกว่า” แต่คุณย่า แม้จะเขียนไม่ได้อ่านไม่ออก แต่รู้เทววิทยาพอท่ฟี ั นธง
เป็ นคนสุดท้ายว่า “อย่าไปสนใจมัน”

7.8 Page 68

▲back to top
พ่อเห็นด้วยกับคุณย่า กระน้นั ก็ดี พ่อยงั ไม่สามารถสลัดความฝั นไป
จากหัวได้ ส่งิ ท่พี อ่ จะต้องพูดในภายหลังจะให้ความกระจ่างแก่เร่อื งน้ไี ด้ พ่อ
ได้แต่เก็บเงียบเร่อื งน้ไี ว้คนเดียว ญาติพ่นี ้องของพ่อก็ไม่ได้สนใจมันอีกต่อ
ไป แต่เม่อื พ่อไปโรมในปี 1858 เพ่อื ทูลพระสันตะปาปาเก่ยี วกับคณะซาเล
เซยี น พระองค์ทรงถามว่าพ่อมีอะไรบางอย่างเหนือธรรมชาติเก่ยี วกับเร่อื ง
น้หี รือไม่ จึงเป็ นคร้งั แรกท่พี ่อพูดถึงความฝั นท่พี ่อฝั นเม่อื อายุเก้าหรือสิบ
ขวบ พระสันตะปาปาทรงสงั่ ใหพ้ ่อบันทึกความฝั นไว้เป็ นลายลักษณ์อักษร
ในทุกรายละเอียดและสง่ ต่อเพ่อื เป็ นกำลังใจแก่สมาชิกของคณะท่พี ่อเดิน
ทางไปโรมเพ่อื ดำเนินการ”11
พ่อขออวยพรให้ท่านทุกคนทำให้ความฝั นของคุณพ่อบอสโกผู้ต้งั คณะ
ซาเลเซียนเป็ นของท่านเอง ให้เราทำงานด้วยกันเพ่อื ทำให้ความฝั นเป็ น
จริงสำหรับเยาวชน โดยเฉพาะเยาวชนท่ยี ากจน ถูกทอดท้งิ และอยใู่ น
อันตราย พร้อมกันน้นั ให้เราฝั นใหม่อีกคร้งั เพ่อื พวกเขา
ขอพระมารดาของพระเจ้าซึ่งเราเร่มิ ปี แห่งพระหรรษทาน 2008 ใน
พระนามของพระแม่ ผู้ทรงเป็ นมารดาและอาจารย์ของพวกท่าน ดังท่พี ระ
แม่ได้ทรงเป็ นอาจารย์สำหรับคุณพ่อบอสโก เพ่อื เราจะได้เรียนรู้จากพระแม่
ท่จี ะมีดวงใจของนักอบรมท่แี ท้จริง

7.9 Page 69

▲back to top
โรม 31 ธันวาคม 2007
Fr. Pascual Chaves
อัคราธิการ
1. AA.VV. “Il Sistema educativo di Don Bosco tra pedagogia antica e nuova”, Atti del
Convegno Europeo Salesiano sul sistema educativo di Don Bosco, LDC Torino 1974, p. 314
2. P. RUFFINATO, Educhiamo con il cuore di don Bosco, in “Note di Pastorale Giovanile”,
n. 6/2007, p. 9.
3. Cf. G. BOSCO, Dei castighi da infliggersi nelle case salesiane, in P. BRAIDO, Don Bosco educatore.
Scritti e testimonianze, LAS, Roma 1992, p. 340.
4. Cf. P. BRAIDO, Prevenire non reprimere. Il sistema educativo di Don Bosco, LAS, Roma 1999, p.
181.
5. Cf. P. BRAIDO, Prevenire non reprimere. Il sistema educativo di don Bosco, LAS, Roma 1999, p.
391.
6. Cf. G. BOSCO, Dei castighi da infliggersi nelle case salesiane, in P. BRAIDO, Don Bosco educatore.
Scritti e testimonianze, LAS, Roma 1992, p. 335.
7. Cf. G. BOSCO, Dei castighi da infliggersi nelle case salesiane, in P. BRAIDO, Don Bosco educatore.
Scritti e testimonianze, LAS, Roma 1992, p. 336.
8. Cf. GC23 203-210; 212-214
9. G. BOSCO, Ricordi ai missionari, in P. BRAIDO, Don Bosco educatore. Scritti e testimonianze, LAS,
Roma 1992, p. 206.
10. GC25, 140
11. J. BOSCO, Memoirs of the Oratory of Saint Francis of Sales from 1815 to 1855, Translation by
Daniel Lyons SDB, Don Bosco Publications, New Rochelle, 1989, pp. 9-10;18-21.